ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

โรงไฟฟ้าบางปะกง

โรงไฟฟ้าบางปะกง (อังกฤษ: Bangpakong Powerplant) เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนและพลังความร้อนร่วมของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จัดเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยแห่งแรก ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อน จำนวน 4 เครื่อง (Thermal) และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combine) จำนวน 4 เครื่อง รวมกำลังผลิตทั้งหมด 3,680,000 กิโลวัตต์ เป็นแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดใหญ่ของประเทศไทย

โรงไฟฟ้าบางปะกง ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งทางด้านซ้ายของแม่น้ำบางปะกงในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่บนเนื้อที่ 1,050 ไร่ ตัวโรงไฟฟ้าอยู่ห่างจากบริเวณปากแม่น้ำบางปะกง ย้อนขึ้นมาตามลำน้ำด้วยระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 69 กิโลเมตร

โรงไฟฟ้าบางปะกงระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ 69 กิโลเมตร สามารถใช้เส้นทางจากกรุงเทพฯ ไป บางนา-ตราด ได้ และเมื่อถึงจังหวัดฉะเชิงเทรา จะพบสะพานเทพหัสดินทร์ อีกประมาณ 1 กิโลเมตร จะพบป้ายชื่อโรงไฟฟ้าบางปะกง ให้เลี้ยวซ้าย ประมาณ 2.5 กิโลเมตร ก็จะถึงโรงไฟฟ้าบางปะกง

โรงไฟฟ้าบางปะกง เริ่มดำเนินการก่อสร้างภายในปี พ.ศ. 2520 ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นการตอบรับและสนองนโยบายของรัฐบาลในขณะนั้น ที่ต้องการพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด แบ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนและโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ดำเนินการก่อสร้าง 2 ระยะ คือระยะเวลาช่วงที่ 1 ในปี พ.ศ. 2520 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะกงและระยะเวลาช่วงที่ 2 ในปี พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531

โรงไฟฟ้าบางปะกง มีการผลิตกระแสไฟฟ้าที่ประกอบไปด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อน จำนวน 2 เครื่อง กำลังผลิตกระแสไฟฟ้าชุดละ 550,000 กิโลวัตต์ และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม จำนวน 2 ชุด กำลังผลิตกระแสไฟฟ้าชุดละ 370,000 กิโลวัตต์ กำลังผลิตของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมในแต่ละชุด ประกอบไปด้วยเครื่องแก๊สเทอร์ไบน์สำหรับผลิตกระแสไฟฟ้า กำลังผลิตขนาด 60,000 กิโลวัตต์ จำนวน 4 เครื่อง ซึ่งสามารถใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดีเซลในการผลิตกระแสไฟฟ้า และเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันไอน้ำ กำลังผลิต 130,000 กิโลวัตต์ จำนวน 1 เครื่อง

โรงไฟฟ้าบางปะกงระยะเวลาช่วงที่ 1 ทำการก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2527 รวมกำลังผลิตกระแสไฟฟ้าในระยะแรกของการก่อสร้างทั้งสิ้น 1,890,000 กิโลวัตต์ ทำพิธีเปิดโรงไฟฟ้าบางปะกงอย่างเป็นทางการโดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2528 และดำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะกงระยะเวลาช่วงที่ 2 ในปี พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531 ซึ่งในขณะนั้นภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ได้มีการขยายตัวอย่างสูง ทำให้ปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าเพิ่มจำนวนมากขึ้นกว่าที่ทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้คาดการณ์การก่อสร้างในช่วงระยะเวลาที่ 2 เอาไว้

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จึงเร่งวางแผนในการพัฒนาและเพิ่มแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประเทศชาติ ในด้านความต้องการในการใช้กระแสไฟฟ้า รวมทั้งเป็นการเพิ่มความมั่นคงให้แก่ระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทย โรงไฟฟ้าบางปะกงในช่วงระยะเวลาที่ 2 โดยได้รับการอนุมัติโครงการการก่อสร้างจากคณะรัฐมนตรี และคณะกรรมการพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดำเนินการก่อสร้างในวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 และเริ่มดำเนินการก่อสร้างในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2531 เป็นต้นไป

โรงไฟฟ้าบางปะกงระยะเวลาช่วงที่ 2 ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม เครื่องที่ 3 - 4 กำลังผลิตขนาด 600,000 กิโลวัตต์

โรงไฟฟ้าบางปะกงมีกำลังผลิตไฟฟ้าสูงถึง 3,680,000 กิโลวัตต์ เป็นหลักที่ช่วยเสริมความมั่นคงให้กับโรงไฟฟ้าส่วนรวมของประเทศ อีกทั้งยังใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงเพื่อสนับสนุนการใช้ทรัพยากรในประเทศ โดยไม่ต้องไปซื้อน้ำมันจากต่างประเทศ ซึ่งสามารถประหยัดเงินได้ปีละหลายล้านบาทอีกด้วย

โรงไฟฟ้าบางปะกงคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและชุมชนรอบโรงไฟฟ้าเป็นส่วนใหญ่ จึงมีมาตราการปฏิบัติ 2 อย่าง ดังนี้


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

โดมทองแห่งเยรุซาเล็ม โบสถ์โนเตรอะดาม เซนต์โทมัส อาควีนัส ทัศนศิลป์ ลิแวนต์ อัลจีเรีย อ๊อตโตมาน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ฮอลแลนด์ สะฮารา ทัศนคติ สุนทรียภาพ ประสาท วัฒนธรรมบรรษัท นักสังคมวิทยา กลุ่มวัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมย่อย นักวิทยาศาสตร์สังคม เอ็ดการ์ เดอกาส วัฒนธรรมมวลชน มานุษยวิทยาสังคม มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาสังคม นักโบราณคดี วานรวิทยา ประเพณี นักมานุษยวิทยา วัฒนธรรมนิยม วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมระดับสูง สินค้าบริโภค คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โครงสร้างนามธรรม ประวัติปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันตก ลัทธิสโตอิก ม่อจื่อ จวงจื่อ มีมางสา โยคะ สางขยะ ไวเศษิกะ นยายะ มัธยมกะ โยคาจาร เสาตรานติกะ จารวาก คัมภีร์พระเวท สารัตถะ ความเป็นจริง ปรัชญาตะวันออก สุนทรียศาสตร์ จริยศาสตร์ ความงาม คุณธรรม คุณวิทยา อรรฆวิทยา หนูผี พันเจีย สนามแม่เหล็ก เขตกึ่งร้อน ดาวเคราะห์คล้ายโลก บาป (ศาสนาคริสต์) คริสตชน จดหมายถึงชาวฮีบรู ศรัทธาในศาสนาพุทธ การอนุมาน สัมพัทธภาพทางความรู้ การจัดการความรู้ ทุนทางสังคม การลองผิดลองถูก ประสบการณ์ การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ ญาณวิทยา ความเข้าใจ อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24022