ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

โรงเรียนดาราวิทยาลัย

โรงเรียนดาราวิทยาลัย หรือในอดีตคือ โรงเรียนสตรีพระราชชายา เคยเป็นโรงเรียนสตรีเอกชนประจำจังหวัดเชียงใหม่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ใช้ชื่อ ตามพระนามเจ้าดารารัศมี พระราชชายา ปัจจุบันเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่และเก่าแก่ในจังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนแห่งนี้มีอายุแล้ว 138 ปี

คณะอเมริกันเพรสไบทีเรียนมิชชันนารี ส่งมิชันนารีเข้ามาประกาศเผยแพร่คริสต์ศาสนาในประเทศไทยในปี ค.ศ.1840 (พ.ศ. 2383) โดยเริ่มต้นที่กรุงเทพฯ และขยายตัวออกสู่ภูมิภาคโดยเริ่มต้นที่จังหวัดเพชรบุรี ต่อมาในปี ค.ศ.1867 (พ.ศ. 2410) ศาสนาจารย์ ดร.แมคกิลวารี และภรรยา คือ นางโซเฟีย บรัดเลย์ แมคกิลวารีได้ขึ้นมาทำงานที่จังหวัดเชียงใหม่ มณฑลพายัพ

ปี ค.ศ.1875 (พ.ศ. 2418) นางโซเฟีย บรัดเลย์ แมคกิลวารี เห็นว่าผู้หญิงเชียงใหม่ขาดการศึกษาและขาดโอกาสที่จะได้รับการศึกษา ไม่มีโรงเรียนสำหรับผู้หญิง จึงนำเด็กหญิงมาสอนในบ้าน สอนภาษาไทย การเย็บปักถักร้อย พระคัมภีร์ การดูแลบ้านเรือน

ปี ค.ศ.1878 (พ.ศ. 2421) โรงเรียนดาราวิทยาลัยได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรก โดยนางโซเฟีย บรัดเลย์ แมคกิลวารี (แม่ครูหลวง)

ปี ค.ศ.1879 (พ.ศ. 2422) คณะมิชชันนารีส่ง Miss Edna Sarah Cole และ Miss Mary Margaretta Campbell มารับผิดชอบและจัดระบบโรงเรียนผู้หญิง ( Chiang Mai Girls'School) ที่นางแมคกิลวารีตั้งขึ้น

วันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ.1909 (พ.ศ. 2452) พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ได้เสด็จเยี่ยมโรงเรียนนี้และผู้บริหารโรงเรียนได้ทูลขอพระราชทานชื่อของโรงเรียน วันที่ 5 พฤศจิกายน ค.ศ.1909 (พ.ศ. 2452) พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ได้มีโทรเลขถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปรึกษาเรื่องชื่อของโรงเรียนผู้หญิงและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระราชโทรเลขตอบกลับมาในวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ.1909 (พ.ศ. 2452) ให้เรียกชื่อโรงเรียนผู้หญิงว่า "โรงเรียนพระราชายา" (Prarachaya School)

ปี ค.ศ.1918 (พ.ศ. 2461) มีประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ฉบับแรกของประเทศไทย ผู้จัดการและครูใหญ่ของโรงเรียนพระราชชายาคือ Miss Julia A. Hatch ได้ทำเรื่องถึงเสนาบดีกระทรวงธรรมการขอ "ดำรง" โรงเรียนพระราชายาเป็นโรงเรียนราษฎร์ของคณะมิชชันนารีที่ตั้งมาก่อนการประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. 2461 เป็นโรงเรียนที่ให้การศึกษาแก่นักเรียนหญิง ตั้งอยู่ที่บ้านสันป่าข่อย ตำบลวัดสระเกษ (วัดเกตในปัจจุบัน) ปี ค.ศ.1924 (พ.ศ. 2466) Miss Julia A.Hatch ในฐานะผู้จัดการ ได้ทำหนังสือถึงเสนาบดีกระทรวงศึกษาธิการ 2 ฉบับ ฉบับแรก ขออนุญาตเปลี่ยนชื่อ "โรงเรียนพระราชายา" เป็น "โรงเรียนดาราวิทยาลัย แผนกประถม" เสนาบดีกระทรวงศึกษาธิการ ตอบรับทราบเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ.1924 (พ.ศ. 2466) และมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ.1924 (พ.ศ. 2466) อีกฉบับขอตั้งโรงเรียนอีกแห่งหนึ่งที่มีชื่อเรียกว่า "ดาราวิทยาลัย" โดยมี Miss Julia A. Hatch เป็นผู้จัดการ และมี Miss Lucy Niblock เป็นครูใหญ่ ตั้งอยู่ที่บ้านหมู่ที่ 1 ถนนแก้วนวรัฐ ตำบลวัดสระเกษ (วัดเกตในปัจจุบัน) อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เสนาบดีกระทรวงศึกษาธิการ ตอบรับเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ.1924 (พ.ศ. 2466) และมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ.1924 (พ.ศ. 2466)

ปี ค.ศ.1941 (พ.ศ. 2484) โรงเรียนดาราวิทยาลัยได้รับการรับรองวิทยฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการ และในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โรงเรียนทั้งสองแห่งถูกรัฐบาลยึด เดือนสิงหาคม ค.ศ.1945 (พ.ศ. 2488) สงครามยุติ มิชชันนารีกลับเมืองไทย ดร. Kennel E. Well เป็นผู้รับอำนาจจากคณะมิชชันนารีในการทวงทรัพย์สิน คือโรงเรียนและโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือคืนจากรัฐบาล Miss Helen F. Mcclure เดินทางมาถึงเชียงใหม่เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ.1946 (พ.ศ. 2489) Miss Lucy Niblock เดินทางมาถึงเชียงใหม่เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1947 (พ.ศ. 2490) โรงเรียนดาราวิทยาลัยเปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ.1946 (พ.ศ. 2489) โดยมีครูบัวชม อินทะพันธุ์ เป็นครูใหญ่ มีนักเรียน 350 คน โรงเรียนเปิดดำเนินการในลักษณะโรงเรียนไปจนกระทั่งประมาณ ปี ค.ศ.1968 (พ.ศ. 2511) จึงได้มีการปิดโรงเรียนดาราวิทยาลัยแผนกประถม คงไว้แต่โรงเรียนดาราวิทยาลัยในปัจจุบัน

ปี ค.ศ.1990 (พ.ศ. 2533) อาจารย์สมศรี ไชยเศรษฐ ผู้จัดการ และอาจารย์สมปรารถนา บุณยเกียรติ ครูใหญ่ โรงเรียนดาราวิทยาลัยได้ทำเรื่องนำเสนอมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใรประเทศไทย ขออนุมัติให้โรงเรียนดาราวิทยาลัยเปิดสอนระบบสหศึกษา และได้รับการอนุมัติให้เปิดในปี ค.ศ.1991 (พ.ศ. 2534) โดยเปิดทีละชั้นเรียน

ปี ค.ศ.2006 (พ.ศ. 2548) โรงเรียนดาราวิทยาลัยเปิดสอนโครงการ การเรียนภาษาต่างประเทศโดยเจ้าของภาษา (Native Speaker Program)

ปัจจุบัน โรงเรียนดาราวิทยาลัย มีอายุ 138 ปี และเป็นโรงเรียนที่ก่อตั้งมานานที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ และในภาคเหนือของประเทศไทย[ต้องการอ้างอิง]

ธงประจำโรงเรียน เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีแดง มุมบนด้านซ้ายมีดาวห้าแฉกดวงใหญ่สีขาว ตรากลางดาวเป็นตัวอักษรสีแดงว่า "ดว" มีรัศมีสีขาวล้อมรอบ และรัศมีด้านล่างเป็นรูปดาวดวงเล็ก ๆ กระจายอยู่

ดำเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 โดยในรายวิชาภาษาอังกฤษได้มีหลักสูตรพิเศษที่เรียนกับเจ้าของภาษาโดยเฉพาะในรายวิชาภาษาอังกฤษ เรียกว่า โปรแกรม NP และในระดับช่วงชั้นที่ 3 ม.1-ม.3 ได้มีการบรรจุวิชาภาษาจีนไว้เป็นวิชาเรียนในรายวิชาเสริมทักษะภาษาต่างประเทศโดยนักเรียนทุกคนจะได้เรียนในรายวิชานี้เนื่องจากเห็นความสำคัญของภาษาจีนที่จะมีความสำคัญมากในอนาคต


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406