ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

โรงงาน

โรงงาน เป็นสถานอุตสาหกรรม ปกติประกอบด้วยอาคารและเครื่องจักร หรือที่พบมากกว่า เป็นกลุ่มอาคารซึ่งคนงานผลิตสินค้าหรือดำเนินการเครื่องจักรเพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์หนึ่งเป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่ง

การแยกประเภทอุตสหกรรมตามโรงงานอุตสหกรรม จำแนกตามกฎกระทรวง (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535ประเภทโรงงานหลัก107ประเภท

เรื่องความเสี่ยงและอันตรายที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบอย่างไรก็ตามหรือมากน้อยเพียงใดย่อมส่งผลเสียต่อโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบอย่างแน่นอน ซึ่งจะมีผลต่อประสิทธิภาพทำงานของพนักงานลดน้อยลง ขึ้นอยู่กับว่าความเสี่ยงนั้นจะขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่รับได้หรือรับไม่ได้ "ความเสี่ยงจะต้องประกอบด้วย 2 องค์ประกอบคือ "ไม่แน่นอน"และ"ไม่พึ่งประสงค์"" คำว่าไม่แน่นอนนั้นหมายถึง เราไม่สามารถหมั่นใจหรือการันตีได้ว่าจะเกิดหรือไม่ แต่สามารถคาดคะเนโอกาศที่จะเกิดในรูปแบบความน่าจะเป็น ส่วนคำว่า ไม่พึงประสงค์ นั้นหมายถึง เหตุหรือสิ่งที่ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากอะไรก็ตามที่ส่งผลเสียหรือเสี่ยงต่อผลกระทบต่างๆ ในชีวิตประจำวันของมนุษย์เรานั้น จริงๆแล้วมีความเสี่ยงอยู่ตลอดเวลา ทั้งในด้านการดำเนินชีวิต เช่น การเดินทางต้องใช้รถใช้ถนนซึ่งอาจเกิดอุบัติเหตุได้เสมอ การทำงานในโรงงานก็อาจเกิดอุบัติเหตูจากเครื่องจักร สารเคมี และในด้านสิ่งแวดล้อมหรือภับพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งสิ่งหล่าวนี้ถือเป็นความเสี่ยงที่มีโอกาศเกิดขึ้นได้เสมอ ดังนั้นเราควรมีการจัดการและประเมินความเสี่ยงถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นในการใช้ชีวิตประจำวันการประเมินความเสี่ยง หมายถึง การวิเคราะห์ความเสี่ยง สาเหตุและผลกระทบที่อาจเกิดจากความเสี่ยงรวมถึงกระบวนการหรือแนวทางแก้ไขปัญหาการควบคุมป้องกันและบริหารจัดการความปลอดภัย อีกความหมายหนึ่งก็คือ"กระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบเพื่อพรรณนาและวัดความเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งที่คุกคาม กระบวนการ การกระทำ หรือเหตุการณ์ใดๆ"ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การประเมินความเสี่ยงเป็นการวิเคราะห์ถึงปัญหาและต้นเหตุที่จะทำให้เกอดอันตรายและความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเรารู็สาเหตุที่ทำให้เกิดความเสี่ยงเราก็สามารถว่างแผนและกำหนดมาตการในการป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดรวมถึงคิดแนวทางควบคุมผลกระทบที่อาจเกิดตามมาจากอุบัติเหตุหรือความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเสียหายได้

วัตถุประสงค์ ทำงานรวมกันในองค์กรแน่นอนว่าต้องมีเป้าหมายทำงาน ถ้าไม่มีเป้าหมายและแผนดำเนินงานก็ไม่สามารถที่จะทำงานออกมาให้มีประสิทธิภาพได้ ฉะนั้นการทำงานจะต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่กำหนด เพื่อสามารถตรวจสอบและวัดผลประเมินว่า งานประสบความสำเร็จแค่ไหน มีปัญหาอะไรควรปรับปรุงอย่างไรและควรพัฒนาอะไร ในโรงงาก็เช่นกันต้องมีวัตถุประสงค์และแผนดำเนินงาน แต่จะเป็นอย่างรัยขึ้นอยู่กับชนิดหรือประเภทของโรงงาน แต่ละประเภทของโรงงานก็มีความใกล้เคียงกันในเรื่องของความปลอดภัย ซึ่งวัตถุประสงค์ในการประเมินความเสี่ยงในโรงงานสามารถแบ่งออกได้ดังนี้ - เพื่อประเมินสาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง - เพื่อกำหนดแผ่นการหรือแนวทางในการดำเนินงาน -หามาตการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ เพื่อลดการสูญเสียในด้านทรัพย์สินและอุบัติเหตุที่จะเกิด -เพื่อให้เกิดความปลอดภัยทำงานของพนักงาน

1) การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Iden tification) เป็นการหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลเสี่ยง ทั้งปัจจัยภายในและภายนอก "ในการระบุปัจจัยเสี่ยงฝ่ายบริหารจำเป็นต้องตั้งคำถามว่า มีเหตุการณ์ใดหรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฎิบัติงานที่อาจเกิดความผิดพลาด ความเสียหายและการบรรจุวัตถุประสงค์ที่กำหนด รวมทั้งมีทรัพย์สินไว้ที่จำเป็นจะต้องได้รับการดูแลรักษา" เช่นความเสี่ยงจากเครื่องจักร ที่ไม่ได้มาตรฐานไม่ปลอดภัยอาจเกิดอันตรายหรือเกิดอุบัติเหตุต่อพนักงาน 2) วิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Ana lysis) เมื่อรู้ปัจจัยหรือสาเหตุของความเสี่ยงที่เป็นอันตราายหรือก่อให้เกิดความเสียหายเราสามารถ "วิเคราะห์พิจราณาถึงโอกาศและความรุนแรงของอันตรายที่ชี้บ่งออกมาได้ ซึ่งอาจก่อให้เกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี" เพื่อพิจารณาว่า มันีโอกาสเกิดได้มากน้อยเพียงใดและมีความรุนแรงในระดับบริเวณแคบหรือกว้าง 3) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) เมื่อรูสาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงและวิเคาระห์ถึงความเป็ไปได้ของโอกาศที่จะเกิดความเสี่ยง เรานำข้อมูลหล่าวนี้ไปหาแนวทางการป้องกันและควบคุมเพื่อลดความสูญเสียและแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด กิจกรรมควบคุมและป้องกันความเสี่ยงควรปรับเปลี่ยนอยู่เสอมเพื่อให้เหมาะสมกับเหตุการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้น

การจัดการความเสี่ยงเป็นการบริหารจัดการความเสี่ยงในโรงงานที่มีความสำคัญในการประกอบธุรกิจด้านต่างๆ การจัดการความเสี่ยงในโรงงานที่เกี่ยวกับการจัดการกับเหตุการณ์ที่จะประสบขึ้นความล้มเหลวและเกิดความสูญเสียหลายด้าน ล้วนแล้วเกิดจากภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว คลื่นยักษ์สึนามิ ลมพายุ และเหตุระเบิด และการจัดการความเสี่ยงกับเหตุการณ์ที่คนบาดเจ็บล้วนแล้วเกิดจากความปรัมาท หรือเกิดจากตัวเครื่องจักรที่ไม่มีการตรวจสอบให้ดีก่อนการใช้งาน จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ ดังนั้น การจัดการความเสี่ยงในโรงงานถือเป็นกระบวนการประเมินผล ควบคุม หรือลด และยอมรับความเสี่ยง โดยสรุปว่า"การจัดการความเสี่ยง เป็นเรื่องของการชี้บ่งอันตรายที่มีอยู่ในการดำเนินงานโดยประมาณระดับความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง รวมถึงการเฝ้าระวังตรวจประเมินและทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา"เฝ้าระวังตรวจประเมินทบทวน - ชี้บ่งอันตราย - ชี้บ่งความเสี่ยง - ประเมินความเสี่ยง - ควบคุมความเสี่ยง

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงงาน (Occupational Health and Safety ) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านสาขาวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแล สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทั้งหมดในโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งด้านการป้องกันและสงเสริมสุขภาพอนามัย ทั้งด้านร่างกาย รวมทั้งทางด้านจิตใจของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรม

การขึ้นทะเบียนโรงงาน ( The registration of plant ) โรงงานจำพวกที่ 1 เป็นโรงงานที่สามารถประกอบกิจการได้ทันทีตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจการแต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดตามกฎกระทรวง - ไม่ต้องยื่นขออนุญาตสามารถประกอบกิจการได้ทันที แต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ทางกระทรวงได้กำหนดไว้ ได้แก่ สถานที่ตั้งโรงงาน ลักษณะอาคาร การควบคุมการปล่อยของเสีย โรงงารจำพวกที่ 2 เป็นโรงงานที่ไม่ต้องขออนุญาต แต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดเช่นกัน และเมื่อจะเริ่มประกอบกิจการโรงงานให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อน - ยื่นเอกสารใบขออนุญาตและชำระค่าธรรมเนียมรายปี หลังจากนั้นจะได้รับใบแจ้งประกอบกิจการ จึงจะสามารถเริ่มประกอบกิจการได้ โรงงานจำพวกที่ 3 เป็นโรงงานที่ต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะตั้งโรงงานได้ - ยื่นคำขอใบอนุญาตและจะมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบสถานที่ แล้วหลังจากนั้นจะมีเจ้าหน้าที่แจ้งผลให้ทราบ ถ้าได้รับการอนุญาตจะต้องชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต รง 4 เพราะเป็นโรงงานที่มีการติดตั้งเครื่องจักร เมื่อชำระค่าธรรมเนียมแล้วสามารถประกอบกิจการได้

กฏระเบียบความปลอดภัยของพนักงานในโรงงาน(Regulatory safety flap in the factory) 1.การเดินเข้าไปในโรงงานต้องเดินชิดซ้าย ห้ามเดินล้วงกระเป๋า 2.การเดินขึ้นลงบันได ให้มองที่ขั้นบันได และจับที่ราวบรรไดเสมอ 3.ก่อนและหลังการทำงานกับเครื่องจักรต้องตรวจเครื่องจักรเสมอ หากมีปัญหาต้องแจ้งหัวหน้างานให้ทราบทันที 4.ห้ามเคลื่อนย้ายเครื่องกำบังอันตรายออกจากเครื่องจักร 5.ไม่เล่นในขณะปฏิบัติงานเพราะอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้ 6.ต้องปฏิบัติตามระเบียบและตามป้ายเตือนหรือป้ายห้ามที่ติดไว้ 7.เมื่อเกิดอุบัติเหตุ ต้องแจ้งให้หัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทราบ 8.ห้ามนำอาหารหรือเครื่องดื่มเข้ามารับประทานในโรงงานเป็นอันขาด 9.ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยก่อนที่จะปฎิบัติงานเสมอ 10.เก็บรักษาเครื่องมือและเครื่องใช้ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย 11.สูบบุหรีในเวลาและพื้นทีที่ควร 12.หากทำงานเกี่ยวกับสารเคมีควรล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหารทุกครั้ง 13.รักษาความสะอาดพื้นทีทำงานก่อนทำงานและหลังเลิกงาน 14.ห้ามวางสื่งของที่กีดขวางเครื่องดับเพลิงหรือทางหนีไฟ 15.จะไม่ใช้ประตูฉุกเฉินเป็นททางเข้า-ออก


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406