ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

โยโกฮามา

นครโยะโกะฮะมะ (ญี่ปุ่น: ??? โยะโกะฮะมะ-ชิ ?) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองเรียงตามประชากรของประเทศญี่ปุ่นรองจากกรุงโตเกียว และยังถือเป็นเขตเทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดของญี่ปุ่น เป็นเมืองเอกของจังหวัดคะนะงะวะ ตั้งอยู่บริเวณอ่าวโตเกียวทางใต้ของกรุงโตเกียวในภาคคันโตบนเกาะหลักฮนชู โยะโกะฮะมะถือเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมที่สำคัญของเขตอภิมหานครโตเกียว

โยะโกะฮะมะเดิมเป็นหมู่บ้านประมงขนาดเล็ก จากนโยบายปิดประเทศของญี่ปุ่นทำให้มีการติดต่อกับชาวต่างชาติเพียงน้อยนิด จุดเปลี่ยนผ่านสำคัญเกิดขึ้นระหว่างปี 1853–54 เมื่อกองเรือปืนของสหรัฐอเมริกานำโดย พลเรือจัตวา แมทธิว ซี. เพอร์รี เดินทางมาถึงทางใต้ของโยะโกะฮะมะ ได้กดดันให้รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะซึ่งปกครองญี่ปุ่นอยู่ในขณะนั้นยอมลงนามในสนธิสัญญาคะนะงะวะ ซึ่งทำให้ญี่ปุ่นต้องเปิดท่าเรือหลายแห่งเพื่อการค้าขาย

ข้อตกลงในขั้นต้นคือ จะต้องมีท่าเรือหนึ่งแห่งสำหรับเรือต่างชาติเปิดขึ้นที่คะนะงะวะจุกุ (ปัจจุบันคือเขตคะนะงะวะ) บนถนนสายโทไกโด ซึ่งเป็นเส้นทางหลักซึ่งเชื่อมระหว่างเอะโดะ, เคียวโตะ และ โอซะกะ อย่างไรก็ตาม ทางรัฐบาลโชกุนติดสินใจว่า คะนะงะวะจุกุนั้นอยู่ใกล้กับโทไกโดมากเกินไป เพื่อความสะดวกจึงหันไปสร้างท่าเรือพาณิชย์ขึ้นบริเวณหมู่บ้านชาวประมงโยะโกะฮะมะแทน ในที่สุด ท่าเรือโยะโกะฮะมะ ก็เปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 2 มิถุนายน 1859 การเกิดขึ้นของท่าเรือพาณิชย์ ทำให้โยะโกะฮะมะกลายเป็นศูนย์กลางการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญของญี่ปุ่นอย่างรวดเร็ว

ในปี 1862 ซะมุไรหนุ่มคนหนึ่งได้ไปสังหารพ่อค้าชาวอังกฤษในเขตสึนะมิเข้าจนเกิดเป็นกรณีนะมะมุงิ ความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษกับรัฐบาลโชกุนนั้นตึงเครียด และทางอังกฤษได้จัดตั้งกองทหารรักษาการณ์ของตนเพื่อปกป้องการค้าและผลประโยชน์ของอังกฤษในโยะโกะฮะมะในปีเดียวกันนั้นเอง ในปีถัดมา ความตึงเครียดก็อุบัติเป็นสงครามอังกฤษ-ซะสึมะซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการเสื่อมอำนาจของโชกุน ในช่วงเดียวกันนี้ จำนวนพ่อค้าชาวจีนที่เข้ามาพำนักอยู่ในโยะโกะฮะมะก็เพิ่มขึ้นจำนวนมาก

โยะโกะฮะมะยังเป็นแหล่งแผยแพร่แฟชั่นและวัฒนธรรมตะวันตกแก่ชาวญี่ปุ่นอีกด้วย ในปี 1861 มีการเกิดขึ้นของหนังสือพิงม์ภาษาอังกฤษในญี่ปุ่นฉบับแรก Japan Herald และในปี 1865 ก็มีการนำไอศรีมและเบียร์เข้ามาผลิตในญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก ตลอดจนมีการจัดตั้งสโมสรและสนามแข่งม้าแบบตะวันตกแห่งแรกในญี่ปุ่นในปี 1862 อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะเกิดเหตุเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในโยะโกะฮะมะซึ่งได้ทำลายชุมชนของชาวต่างชาติไปเป็นจำนวนมากในเดือนพฤศจิกายน 1866 หรือตลอดจนการระบาดของไข้ทรพิษ แต่เมืองโยะโกะฮะมะก็ยังเติบโตไปได้อย่างรวดเร็ว

ภายหลังการฟื้นฟูพระราชอำนาจในปี 1868 ท่าเรือโยะโกะฮะมะก็ถูกพัฒนาเพื่อการค้าขายผ้าทอโดยมีอังกฤษเป็นคู่ค้าหลัก อิทธิพลและการส่งผ่านเทคโนโลยีของตะวันตกได้ช่วยให้เกิดหนังสือพิมพ์รายวันฉบับแรกของญี่ปุ่น (1870) โคมไฟส่องถนนพลังก๊าซ (1872) และทางรถไฟสายแรกของญี่ปุ่นระหว่างโยะโกะฮะมะ–ชินะงะวะ–มินะโตะในโตเกียว (1872) เป็นปีเดียวกันกับที่ ฌูล แวร์น ได้เขียนพรรณาเมืองฮิโระชิมะซึ่งเขาไม่เคยได้ไปเยือนมาก่อน ในตอนหนึ่งของหนังสือของเขา Around the World in Eighty Days ซึ่งสะท้อนถึงเมืองที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและเป็นเมืองนานาชาติในดินแดนตะวันออก ในปี 1887 พ่อค้าชาวอังกฤษนาม ซามูเอล ค็อกกิง ได้สร้างโรงไฟฟ้าแห่งแรกของเมืองนี้ ซึ่งในช่วงแรกใช้เพื่อกิจการส่วนตัว โรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งนี้เองที่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของบริษัทไฟฟ้าและแสงสว่างโยะโกะฮะมะ เดือนเมษายน 1889 เมืองโยะโกะฮะมะทั้งสองเขตถูกรวมไปหนึ่งเดียวจากการยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในเขตต่างชาติ

ต้นศตวรรษที่ 20 เป็นยุคที่อุตสาหกรรมของญี่ปุ่นเติบโตอย่างรวดเร็ว ผู้ประกอบการจำนวนมากสร้างโรงงานบนที่ดินถมทะเลบริเวณทางเหนือของเมืองไปจนถึงเมืองคะวะซะกิ ซึ่งในที่สุดพื้นที่นี้ก็กลายเป็นเขตอุตสาหกรรมเคฮิง การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมญี่ปุ่นได้นำมาซึ่งความมั่งคั่ง และครอบครัวพ่อค้าที่ร่ำรวยจำนวนมากก็ได้มาตั้งรกรากที่นี่ ประชากรที่ไหลบ่าเข้ามาจากทั่วญี่ปุ่นและเกาหลีได้ส่งผลให้เกิด โคะจิกิ-ยะโตะ ชุมชนแออัดที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่นขึ้น

แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโตวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1923 ได้ทำลายเมืองโยะโกะฮะมะลงอย่างกว้างขวาง ตำรวจโยะโกะฮะมะรายงานว่า มีผู้เสียชีวิตถึง 30,771 คนและผู้บาดเจ็บอีก 47,908 ราย ทั้งนี้ ก่อนเกิดเหตุแผ่นดินไหวโยะโกะฮะมะมีประชากรทั้งสิ้น 434,170 คน มีการก่อความไม่สงบและวินาศกรรมขึ้น ผู้ต้องหาส่วนมากเป็นชาวเกาหลีที่อาศัยอยู่ในสลัมโคะจิกิยะโตะ ขณะนั้น มีคนจำนวนมากที่เชื่อว่าเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่หลวงนี้เกิดขึ้นจากการใช้มนต์ดำโดยพวกเกาหลี จากความไม่สงบที่เกิดขึ้นทำให้มีการประกาศใช้กฎอัยการศึก แผ่นดินไหวครั้งนี้ได้ก่อให้เกิดซากปรักหักพังมากมาย ซึ่งหลายบริเวณก็ถูกแปรสภาพเป็นสวนสาธารณะ อาทิ สวนสาธารณะยะมะชิตะ

แม้เมืองจะได้รับการบูรณะและกลับมายืนหยัดอย่างรวดเร็ว แต่โยะโกะฮะมะก็ถูกทำลายลงอีกครั้งจากการทิ้งระเบิดทางอากาศของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง การทิ้งระเบิดเพลิงในเช้าวันที่ 29 พฤษภาคม 1945 ครั้งเดียวได้คร่าชีวิตผู้คนในโยะโกะฮะมะไปกว่า 7-8 พันคน การทิ้งระเบิดครั้งนั้นเป็นที่รู้จักในชื่อ "การทิ้งระเบิดครั้งใหญ่ที่โยะโกะฮะมะ" ซึ่งใช้เวลาในการทิ้งระเบิด 1 ชั่วโมง 9 นาที โดยเครื่องบินทิ้งระเบิด บี-29


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406