โบราณคดี (อังกฤษ: Archaeology) คือ วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ โดยผ่านทางการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่ได้มาจากการขุดค้น (โบราณวัตถุ) การขุดแต่ง (โบราณสถาน) และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ (ศิลาจารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร) โดยทั่วไป จะต้องใช้ศาสตร์ด้านอื่นๆ ประกอบด้วยเพื่อให้เรื่องราวในอดีตของมนุษย์ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ศาสตร์เหล่านั้น เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ธรณีวิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ เรณูวิทยา การกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ที่ประเทศไทย มีการเปิดสอนคณะโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นเพียงที่เดียวในประเทศไทย
การศึกษาโบราณคดี เป?นการศึกษาแบบวิทยาศาสตร?แขนงหนึ่งเช?นเดียวกับการศึกษาทางสังคมศาสตร?การศึกษาทางโบราณคดีเป?นการศึกษาจากหลักฐานต?างๆ ดังกล?าว มาแล?ว การที่จะทราบเรื่องราวของมนุษย์ในยุคใดในสมัยใดได้ละเอียดมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับหลักฐานที่พบการแปลความหมายและการวางตัวเป็นกลาง ไม่มีอคติในเรื่องของชาตินิยมของนักโบราณคดีเรื่องราวที่ได้จึงจะถูกต้องกับความเป็นจริงมากที่สุดจึงจะถูกต?องตรงกับความเป?นจริงมากที่สุด
เป?นการตรวจหาแหล?งโบราณคดี อาจทําได?โดย ตรวจสอบจากภาพถ?ายทางอากาศ การศึกษาจากเอกสารและการเดินสํารวจเพื่อเป?นการ รวบรวมหลักฐานสําหรับประเมินค?าของแหล?งโบราณคดีนั้นๆ ในการวางแผนขุดค?นต?อไป
เป?นกรรมวิธีขั้นที่สองของการศึกษาทางโบราณคดี เพื่อให้ได้หลักฐานที่ถูกต้องมากที่สุด การขุดค้นจะต้องทำอย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เป็นการ ื่อให?ได?หลักฐานที่ถูกต?องมากที่สุด การขุดค?นจะต?องทําอย?างระมัดระวัง เพื่อไม่ให้เป็นการ ทําลายหลักฐานที่ทับถมอยู?ในดินเป?นเวลาหลายร?อยหลายพันป?จึงต?องมีการบันทึกอย?างละเอียด และการวาดภาพหรือถ?ายภาพประกอบด?วย
หลักฐานที่ี่ได?จากการขุดค?น จะต?องนํามาวิเคราะห?ใน ห?องปฏิบัติการเพื่อหาแบบอย่างของรูปร่างของ สิ่งของที่ขุดได้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อไป
และการเขียนรายงานเป?นการรวบรวมหลักฐานต?างๆ ที่ได?จากการสํารวจ การขุดค?น และการวิเคราะห?แล?วนํามาแปลความหมาย เพื่อเขียนเป็นรายงานพิมพ์ออกเผยแผร่และจัดนิทรรศการ สรุปเรื่องราวของมนุษย์ในยุคนั้น สมัยนั้นต่อจากนั้นก็เป็นการ รักษาโบราณศิลปวัตถุที่ค้นพบซึ่งได้แก่ การจัดพิพิธภัณฑ์ เพื่อเป็นประโยชน์ในสำหรับการศึกษาค้นคว้าแนวทางการศึกษา วิชาโบราณคดีโดยทั่วไป ื่