ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

เคเอฟซี

เคเอฟซี (อังกฤษ: KFC) หรือ ไก่ทอดเคนทักกี (อังกฤษ: Kentucky Fried Chicken) เป็นภัตตาคารอาหารจานด่วนหลายสาขาที่เน้นอาหารประเภทไก่ทอดและมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่หลุยส์วิลล์ รัฐเคนทักกี สหรัฐอเมริกา เคเอฟซีเป็นภัตตาคารหลายสาขาที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจากแมคโดนัลด์ ด้วยจำนวนร้าน 18,875 ร้านใน 118 ประเทศนับถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 บริษัทเป็นบริษัทย่อยของยัม! แบรนด์ส อิงค์ บริษัทภัตตาคารที่เป็นเจ้าของพิซซ่าฮัทและทาโก้ เบลล์ด้วย

เคเอฟซีก่อตั้งโดยฮาร์แลนด์ แซนเดอส์ นักลงทุนที่เริ่มขายไก่ทอดจากร้านอาหารข้างถนนในคอร์บิน รัฐเคนทักกี ในช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ แซนเดอส์เริ่มเห็นความเป็นไปได้เกี่ยวกับการเปิดแฟรนไชส์ร้านอาหาร และแฟรนไชส์ "เคนทักกีฟรายด์ชิกเคน" (Kentucky Fried Chicken - ไก่ทอดเคนทักกี) ร้านแรกเปิดที่รัฐยูทาห์ในปี พ.ศ. 2495 เคเอฟซีทำอาหารประเภทไก่ให้เป็นที่นิยมในอุตสาหกรรมอาหารจานด่วน และกระจายตลาดโดยท้าทายผู้นำด้านร้านอาหารประเภทแฮมเบอร์เกอร์ หลังจากตั้งชื่อตราสินค้าของตนเป็น "เคอเนลแซนเดอส์" (Colonel Sanders) ฮาร์แลนด์กลายเป็นบุคคลโดดเด่นในประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอเมริกัน และรูปภาพของเขาเป็นที่รู้จักกว้างขวางในภาพโฆษณาเคเอฟซี อย่างไรก็ตาม การขยายตัวอย่างรวดเร็วของบริษัททำให้แซนเดอส์รู้สึกว่ายากที่จะรับมือ และในปี พ.ศ. 2507 เขาขายบริษัทให้กับกลุ่มนักลงทุนกลุ่มหนึ่งที่นำโดยจอห์น วาย. บราวน์ จูเนียร์ และแจ็ก ซี. แมสซีย์

เคเอฟซีเป็นหนึ่งในกิจการอาหารจานด่วนกิจการแรก ๆ ที่ขยายตัวเข้าสู่สากล เปิดสาขาในสหราชอาณาจักร เม็กซิโก และจาไมกาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1960 ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1970-1980 เคเอฟซีประสบกับโชคชะตาทั้งร้ายและดีคละกันไป หลังจากมีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้งเกี่ยวกับหุ้นส่วนที่ไม่มีประสบการณ์เรื่องธุรกิจร้านอาหาร หรือมีประสบการณ์เพียงน้อยนิด เมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เคเอฟซีถูกขายให้กับผู้จำหน่ายสุรา ฮิวไบลน์ (Heublein) ซึ่งก็ถูกธุรกิจอาหารและยาสูบ อาร์.เจ. เรย์โนลด์ และขายกิจการให้กับบริษัท เป๊ปซี่โค กิจการขยายตัวต่อไปอีกหลายประเทศ และในปี พ.ศ. 2530 เคเอฟซีกลายเป็นกิจการร้านอาหารตะวันตกกิจการแรกที่เปิดที่ประเทศจีน กิจการได้ขยายตัวในจีนอย่างรวดเร็ว จนปัจจุบันกลายเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดของบริษัท เป๊ปซี่โคแยกแผนกร้านอาหารออกเป็นไทรคอนโกลบอลเรสเตอรอนส์ (Tricon Global Restaurants) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ยัม! แบรนด์ส อิงค์ ในปัจจุบัน

ผลิตภัณฑ์แรกเริ่มของเคเอฟซีคือไก่ทอดที่ทอดด้วยอุณหภูมิสูง (pressured frying) ปรุงรสด้วยสูตรสมุนไพรและเครื่องเทศ 11 ชนิดของแซนเดอส์ ส่วนผสมของสูตรนี้เป็นความลับทางการค้า ไก่ทอดหากมีปริมาณมากจะเสิร์ฟใน "ถัง" ที่ทำจากกระดาษแข็ง ซึ่งกลายเป็นลักษณะที่รู้จักกันดีของกิจการตั้งแต่เปิดตัวครั้งแรกโดยลูกค้าแฟรนไชส์ พีต ฮาร์แมน ในปี พ.ศ. 2500 ตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เคเอฟซีขยายเมนูให้มีอย่างอื่นนอกจากไก่ทอด เช่น เบอร์เกอร์ไก่ไม่มีกระดูก และแซนด์วิชไก่ไม่มีกระดูกชนิดห่อด้วยแป้ง รวมถึงสลัด และเครื่องเคียง เช่น เฟรนช์ฟรายส์ และโคลสลอว์ ขนมหวาน และน้ำอัดลม ซึ่งจัดหาโดยบริษัทเป๊ปซี่โค เคเอฟซีเป็นที่รู้จักด้วยสโลแกนว่า "finger linkin' good" ต่อมาเปลี่ยนเป็น "Nobody does chicken like KFC" และ "So Good"

ร้านแรกของเคเอฟซีเปิดเมื่อปี พ.ศ. 2482 โดยผู้พันฮาร์แลนด์ เดวิด แซนเดอส์ ที่สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงในเมืองคอร์บิน รัฐเคนทักกี และเปิดร้านสัมปทานสาขาแรกเมื่อ พ.ศ. 2495 ในภายหลังเมื่อกิจการได้รับความนิยม ผู้พันแซนเดอส์จึงขายกิจการให้กับกลุ่มนักลงทุนอื่นในปี พ.ศ. 2505 ด้วยมูลค่า 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ในภายหลังแบรนด์เคเอฟซีถูกซื้อกิจการโดยกลุ่มบริษัทเป๊ปซี่โค ซึ่งได้แยกธุรกิจเกี่ยวกับอาหารออกมาเป็นบริษัทไทรคอน ก่อนจะเปลี่ยนชื่อมาเป็น ยัม! แบรนด์ส อิงค์ ในปัจจุบัน

เคเอฟซีได้เปลี่ยนจากชื่อเต็ม "เคนทักกีฟรายด์ชิกเคน" มาเป็นชื่อย่อ "เคเอฟซี" เมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยให้เหตุผลว่าต้องการลดความสำคัญของคำว่า "ชิคเก้น" หรือ "ไก่" ลง เนื่องจากมีผู้ประท้วงเกี่ยวกับการใช้ไก่ดัดแปลงพันธุกรรมของเคเอฟซี เหตุผลอีกข้อหนึ่งคือต้องการทิ้งคำว่า "ฟรายด์" (Fried) ซึ่งสวนกับกระแสสุขภาพในการลดการบริโภคของทอด อย่างไรก็ตาม เมื่อปี พ.ศ. 2548 เคเอฟซีเปิดร้านอาหารใหม่ในรัฐเคนทักกี ได้ใช้ชื่อว่า "เคนทักกีฟรายด์ชิกเคน" เช่นเดิม และมีแผนจะใช้ชื่อเดียวกันนี้ในอนาคต

เดิมเคเอฟซีเปิดให้บริการในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2513 แต่เคเอฟซีในประเทศไทยก็ได้ปิดให้บริการ หลังจากสิ้นสุดสงครามเวียดนามในปี พ.ศ. 2518

เคเอฟซีกลับเข้ามาในประเทศไทยอีกครั้งเมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยกลุ่มเซ็นทรัล โดยมีสาขาแรกอยู่ที่ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลลาดพร้าว ต่อมาได้มีการเปลี่ยนเจ้าของกิจการบริษัทแม่มาเป็นบริษัทเป๊ปซี่โค ซึ่งได้ดึงเครือเจริญโภคภัณฑ์มาร่วมดำเนินกิจการในประเทศไทยด้วย เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโครงการการบริหารโดยมีเจ้าของหลักเป็นบริษัทยัม! แบรนด์ส อิงค์ ในประเทศไทยจึงเปลี่ยนชื่อมาเป็นบริษัทยัม! ประเทศไทย

ปัจจุบันเคเอฟซีมีสาขาทั้งหมด 531 แห่ง ครอบคลุม 77 จังหวัดทั่วประเทศ โดยแบ่งดำเนินการระหว่างเซ็นทรัลและเครือเจริญโภคภัณฑ์ โดยของทางเซ็นทรัล เรสเตอรองค์ กรุ๊ป ส่วนใหญ่จะเป็นสาขาในโรบินสัน เซ็นทรัล เซ็นทรัลพลาซา เซ็นทรัลเฟสติวัล เซ็นทรัลเวิลด์ บิ๊กซี และเทสโก้ โลตัส และของทาง ยัม! ประเทศไทย จะดำเนินการภายใต้ห้างขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นเจ้าที่มีสาขามากที่สุดในประเทศไทย (เมื่อเทียบกับเซ็นทรัล) เป็นเจ้าเดียวที่เปิดบริการส่งถึงบ้าน และอ้างว่ามีส่วนแบ่งตลาดถึง 49% ของธุรกิจฟาสต์ฟู้ดทั้งหมดในประเทศ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301