ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

อำเภอเมืองตรัง

เมืองตรัง ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเมืองแรกที่มีต้นยางพารา โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ได้นำพันธุ์มาจากมาเลเซียมาปลูกเป็นแห่งแรกของภาคใต้ เมื่อปี พ.ศ. 2442 และถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิดเป็นร้อยละ 93 นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 5 และอื่น ๆ ร้อยละ 2

ประวัติของเมืองตรังมีมาตั้งแต่สมัยก่อนยุคอาณาจักรโบราณ โดยมีประวัติการตั้งรกรากตามริมฝั่งแม่น้ำตรัง และมีบันทึกเมื่อคราวท้าวศรีธรรมาโศกราชครองเมืองนครศรีธรรมราชนั้น ได้ตั้งเมืองตรังเป็นหัวเมืองบริวาร ให้ปีมะเมียเป็นสัญลักษณ์นักษัตรประจำเมือง ราวปี พ.ศ. 2367 มีการตั้งชุมชนริมฝั่งแม่น้ำตรังโดยชาวจีนที่มาจากปีนัง ล่องเรือเข้ามาทางปากแม่น้ำตรัง และได้อาศัยแม่น้ำเป็นเส้นทางทำการค้า จึงได้ชื่อว่า "ชุมชนท่าจีน" และเรียกแม่น้ำที่ไหลผ่านช่วงนี้ว่า คลองท่าจีน

ที่ตั้งของตัวเมืองตรังนั้นมีการเปลี่ยนแปลงมาหลายครั้ง ตามหลักฐานตั้งแต่ยุคอาณาจักรโบราณ ลัดเลาะตามริมฝั่งแม่น้ำตรัง จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 6 พระยารัษฎานุประดิษฐ์ (สินธุ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ได้ทูลขอย้ายเมืองมาตั้งอยู่ ณ ตำบลทับเที่ยง โดยให้ชื่อว่า อำเภอบางรัก และต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอทับเที่ยง ในปี พ.ศ. 2459

ต่อมาเมื่อพระยาตรังคภูมาภิบาล (เจิม ปันยารชุน) มารับตำแหน่งเจ้าเมืองตรัง ได้ดำเนินการก่อสร้างศาลากลางเมือง จนเปิดทำการได้ใน พ.ศ. 2463 และเมื่อพระยาสุรินทรราชา (นกยูง วิเศษกุล) ดำรงตำแหน่งสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต (มีอาณาเขตครอบคลุมเมืองตรัง) ได้เอาใจใส่พัฒนาเมืองตรังหลายด้าน จึงปรากฏชื่อของท่านเป็นอนุสรณ์ไว้ในอำเภอเมืองตรัง เช่น กระพังสุรินทร์ ถนนวิเศษกุล วัดควนวิเศษ เป็นต้น

พ.ศ. 2483 จอมพล ป.พิบูลสงคราม ตรวจราชการเมืองตรัง ดำริให้สร้างอนุสาวรีย์เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีของพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) จังหวัดตรังจึงดำเนินการจนเสร็จเรียบร้อย ทำพิธีประดิษฐานไว้ ณ ตำบลทับเที่ยง ในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2493 และทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการพร้อมกับเฉลิมฉลองในวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2494

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง เริ่มการปกครองสุขาภิบาล เมื่อ พ.ศ. 2474 ต่อมาหลังจากที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 สุขาภิบาลเมืองตรังจึงได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองตรัง เมื่อ พ.ศ. 2478 และได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครตรังเมื่อปี พ.ศ. 2542

อำเภอเมืองตรังมีสภาพเป็นเนินสูงต่ำสลับกับที่ราบ มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน คือแม่น้ำตรัง มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้

อนุสาวรีย์พระยารัษฎานุประดิษฐ์ สร้างโดยดำริของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ตั้งอยู่ในสวนสาธารณะ เดิมเป็นที่ตั้งพระตำหนักผ่อนกายซึ่งจัดรับเสด็จฯพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตกแต่งเป็นสวนสาธารณะ

สระกระพังสุรินทร์เป็นสระน้ำธรรมชาติ มีพื้นที่กว้างประมาณ 50 ไร่ เป็นผลงานของธรรมชาติที่เกิดจากการกัดเซาะเขาหินปูนของน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ขึ้น ในอดีตเคยจัดเป็นสวนสัตว์ขนาดย่อม แต่ปัจจุบันได้แปรสภาพเป็นสวนสาธารณะ เหมาะสำหรับการออกกำลังกายยามเย็น

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นสวนสาธารณะเดิมเรียกว่าเขาแปะช้อยเพราะเดิมบริเวณนี้เป็นที่ดินของนายช้อยและต่อมานายช้อยได้เสียชีวิตลงจึงยกให้รัฐบาลปัจจุบันมีพรรณไม้สวยงามน่าชมและมีสระน้ำขนาดใหญ่มีสะพานแขวนเหมาะแก่การผักผ่อน

เอกลักษณ์อย่างหนึ่งในการเดินทางมาจังหวัดตรัง คือ รถสามล้อเครื่อง หรือตุ๊กตุ๊กหัวกบ ปัจจุบันการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้สนับสนุนให้มีการจัดการท่องเที่ยวที่เดินทางโดยรถตุ๊กตุ๊กหัวกบ

หอนาฬิกาประจำจังหวัดตรังเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของจังหวัด ซึ่งตั้งตระหง่านอยู่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด ปัจจุบันทางเทศบาลนครตรังได้ปรับปรุงทิวทัศน์บริเวณถนนโดยรอบหอนาฬิกา เพื่อเป็นสถานที่สำหรับนักท่องเที่ยวได้เยี่ยมชมความสวยงามของเมืองตรังในยามเย็นได้อีกด้วย

ตั้งอยู่ที่เลขที่ 183 ถนนวิเศษกุล เป็นบ้านไม้ 2 ชั้น ซึ่งเป็นที่พำนักของนางถ้วน หลีกภัย มารดาของนายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย เดิมบรรดาบุคคลที่ชื่นชมผลงานของนายชวน หลีกภัย เมื่อไปจังหวัดตรังแล้ว จึงเข้าไปเยี่ยมคารวะมารดาของท่านด้วย ต่อมาจึงได้เปิดบ้านพักของแม่ถ้วน เป็นสถานที่ให้นักท่องเที่ยวทั่วไปได้เข้าชม และมีโอกาสทักทายกับคนในบ้านอีกด้วย มีจุดเด่นคือ ร่มรื่นไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด และนกต่าง ๆ ที่เลี้ยงไว้ในกรง


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301