อักษรไกถี (????), หรืออักษรกยถี หรืออักษรกยัสถี เป็นชื่อของอักษรที่เคยใช้ในอินเดียเหนือสมัยโบราณ โดยเฉพาะบริเวณที่ต่อมาจะเป็นจังหวัดตะวันตกเฉียงเหนือ อวัธ และ พิหาร ซึ่งเคยใช้เป็นตัวอักษรในทางกฎหมาย การบริหาร และบันทึกส่วนตัว
ชื่อของอักษรไกถีได้มาจากคำว่า กยัสถะ ซึ่งเป็นกลุ่มทางสังคมในอินเดีย ชุมชนกยัสถะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเจ้านครรัฐและรัฐบาลอาณานิคมในอินเดียเหนือ อักษรจึงมีชื่อว่าอักษรไกถี
เอกสารที่เขียนด้วยอักษรไกถิที่ตรวจสอบได้พบตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 21 อักษรนี้ใช้มากในสมัยจักรวรรดิโมกุล ในราว พ.ศ. 1933 ในสมัย บริติชราช อักษรนี้เป็นอักษรทางการในศาลของพิหาร ซึ่งนิยมใช้อักษรไกถีมากกว่าอักษรเทวนาครี แต่ต่อมา ความนิยมใช้ได้ลดลง
พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา