อักษรเปอร์เซียโบราณ
กษัตริย์ดาริอุสที่ 1 (7 ปีก่อนพุทธศักราช - พ.ศ. 57) เป็นผู้ประดิษฐ์อักษรเปอร์เซียโบราณ และให้จารึกบนหน้าผาสูงที่เบอิสตุน อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอิหร่าน มีอายุราวพ.ศ. 23 เป็นจารึก 3 ภาษาคือ ภาษาอีลาไมต์ ภาษาบาบิโลเนีย และภาษาเปอร์เซียโบราณ นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่า กษัตริย์ดาริอุสทรงมอบหมายงานประดิษฐ์อักษร ให้อาลักษณ์ของพระองค์ช่วยทำ มากกว่าคิดขึ้นโดยพระองค์เพียงลำพัง พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/อักษรเปอร์เซียโบราณ
|