ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน

เขียนจากขวาไปซ้าย มีอักษรพื้นฐาน 28 ตัว การปรับไปเขียนภาษาอื่น เช่น ภาษาเปอร์เซียและภาษาอูรดูจะเพิ่มอักษรอื่นเข้ามา ไม่มีความแตกต่างระหว่างตัวพิมพ์กับตัวเขียนและตัวเล็กกับตัวใหญ่ อักษรแต่ละตัวจะเขียนติดกับอักษรตัวอื่นแม้ในการพิมพ์และรูปอักษรเปลี่ยนไปขึ้นกับตำแหน่งในคำ ไม่มีการเขียนสระเสียงสั้น ผู้อ่านต้องจดจำเอาเองว่าคำคำนั้นมีเสียงสระเป็นอย่างไร จะเขียนเฉพาะสระเสียงยาวเท่านั้น ในคัมภีร์อัลกุรอานหรือในการสอนจะใช้เครื่องหมายแสดงการออกเสียง ในหนังสือรุ่นใหม่จะแสดงเครื่องหมายการยกเว้นเสียงสระ (ซุกูน) และเครื่องหมายเพิ่มความยาวเสียงพยัญชนะ (ชัดดะฮ์) ชื่อของอักษรอาหรับมาจากคำที่มีความหมายในภาษาเซมิติกแรกเริ่ม การจัดเรียงอักษรอาหรับมี 2 แบบ

การจัดเรียงแบบอับญะดี เป็นการจับคู่อักษรอาหรับ 28 ตัวกับอักษรฟินิเชีย 22 ตัว ที่เหลืออีก 6 ตัว เรียงไว้ข้างท้าย ? ? ? ?? ? ?? ? ? ? ? ? ? ? ? ? ? ??? ? ? ? ?? ? ?

มีการใช้อักษรอาหรับเขียนภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอาหรับอย่างกว้างขวาง โดยมีการปรับแต่งหรือเพิ่มลักษณะเพื่อแทนเสียงที่ต่างไปจากอักษรอาหรับตัวอย่างเช่น ภาษาอาหรับไม่มีเสียง/ป/ ฉะนั้น ภาษาอื่น ๆ ที่มีเสียง /ป/ จึงต้องสร้างอักษรของตัวเองขึ้นมา การเพิ่มเติมนี้แบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ

การเขียนอักษรอาหรับเป็นการเขียนแบบต่อเนื่องกันไป อักษรแต่ละตัวมีรูปร่างต่างไปขึ้นกับตำแหน่งในคำว่าอยู่ต้น กลางหรือท้ายคำ มีอักษร 6 ตัวที่มีเพียงแบบเดี่ยวกับท้ายคำ ดังนั้นเมื่อตามหลังอักษรตัวอื่นจะไม่มีการเชื่อมต่อและอักษรตัวต่อไปจะใช้แบบต้นคำหรือแบบเดี่ยวถ้าไม่มีแบบต้นคำ อักษรที่ไม่มีแบบต้นคำหรือกลางคำจะไม่ใช้เป็นตัวตามอักษรอื่นแม้ภายในคำ ฮัมซะฮ์ ไม่ใช้นำหน้าหรือตามหลังอักษรอื่นบางครั้งใช้เขียนบนวาว ยาอุ หรือ อลิฟเพื่อแสดงเสียง/อ/ อลิฟ มักศูเราะฮ์ (alif maqsurah) ในภาษาอาหรับ รูปร่างเหมือนตัวยาอุที่ไม่มีจุดข้างล่าง (?) ใช้เฉพาะตำแหน่งท้ายคำเท่านั้น ใช้แทนเสียงสระอา เช่นเดียวกับ อลิฟในภาษาเปอร์เซียและภาษาอูรดูเรียก ฟาร์ซี เยห์ (Farsi yeh) ซึ่งมีรูปต้นคำกับกลางคำด้วย ส่วนอลิฟ มักศูเราะฮ์ ไม่มีรูปดังกล่าว

การเขียนอักษรอาหรับแบบเชื่อมต่อเป็นสิ่งที่เห็นได้โดยทั่วไป บางตัวมีรูปแบบเฉพาะ เช่น l?m + ’alif

ในระยะแรก อลิฟใช้แทนเสียง /อ/ ซึ่งเป็นลักษณะที่มาจากอักษรฟินิเชีย ปัจจุบันนำมาใช้แทนสระเสียงยาวเช่นเดียงกับวาวและยาอุ ทำให้เกิดความคลุมเครือว่าอลิฟตัวนั้นแทนเสียง /อ/ หรือสระอา อักษรอาหรับปัจจุบันจึงเพิ่มฮัมซะฮ์ใช้แทนเสียง /อ/ ซึ่งปรากฏได้ทุกที่ภายในคำ เขียนทั้งโดยลำพังและเกาะกับอักษรอื่น

พยางค์ในภาษาอาหรับมีทั้งพยางค์เปิด และพยางค์ปิดซึ่งใช้กับสระเสียงสั้นเท่านั้น เมื่อเป็นพยางค์ปิดพยัญชนะตัวที่เป็นตัวสะกดจะไม่มีเสียงสระ และใช้เครื่องหมายซุกุนเพื่อลดความคลุมเครือ โดยเฉพาะเมื่อตัวหนังสือนั้นไม่ได้แสดงเครื่องหมายการออกเสียง ตัวหนังสือมาตรฐานนั้นจะมีแต่พยัญชนะเท่านั้น เช่น qalb “หัวใจ” เขียนเป็น qlb

ซุกูนเป็นตัวบ่งชี้ให้รู้ว่าตรงไหนไม่ต้องใส่เสียงสระ คำ qlb อาจหมายความว่าจะใส่เสียงสระเข้าที่ q l หรือ b ก็ได้ แต่เมื่อเติมซุกุนเหนือตัว l และ b ทำให้รู้ว่าต้องใส่สระที่ตัว q เท่านั้น เขียนได้ว่า ????? เมื่อกำหนดการออกเสียงโดยสมบูรณ์จะเพิ่มเครื่องหมายฟัตฮะฮ์ เป็น ?????? คัมภีร์อัลกุรอานเป็นหนังสือที่แสดงการออกเสียงโดยสมบูรณ์ นอกจากนั้นแล้ว การใส่ซุกูนเหนือตัวยาอุเพื่อกำหนด /อี/ และ วาว เพื่อกำหนด /อู/ พบน้อยมาก เพราะยาอุ + ซุกุน อาจอ่านเป็น /ไอ/ และวาว + ซุกุนอาจอ่านเป็น /อัว/

ตัวอักษร m-w-s-y-q-? ( ?????? มีอลิฟ มักศูเราะฮ์ที่ท้ายคำ) ปกติอ่านเป็น m?s?q? (ดนตรี) ถ้าเขียนซุกุนบนตัววาว ยาอุ และอลิฟ เป็น ????????? จะอ่านเป็น mawsayk?y (ควรจำไว้ว่า อลิฟ มักศูเราะฮ์แม้จะอยู่ท้ายคำแต่ไม่ต้องใส่ซุกุน คำนี้จะถูกเขียนเป็น ??????????? ในคัมภีร์อัลกุรอาน (ถ้ามีคำนี้อยู่) หรือ ????????? โดยทั่วไป ซุกุนจะไม่วางที่ตำแหน่งท้ายคำแม้ว่าพยัญชนะนั้นจะไม่มีเสียงสระ

ในภาษาอาหรับไม่เขียนสระเสียงสั้นยกเว้นในหนังสือศักดิ์สิทธิ์ เช่น อัลกุรอาน จะใช้เฉพาะเมื่อกิดความคลุมเครือขึ้น โดยเครื่องหมายสระเสียงสั้นจะเป็นเครื่องหมายอยู่บนหรือล่างพยัญชนะ ในกรณีสระเสียงยาว เช่น /อา/ จะแสดงโดยใช้เครื่องหมายสระเสียงสั้นคู่กับอลิฟ (/อา/) ยาอุ (/อี/) หรือ วาว (/อู/) เสียงสระอาตามด้วยฮัมซะฮ์จะแทนด้วยอลิฟ มัดดะหรือเขียนฮัมซะฮ์ แล้วตามด้วยอลิฟ อักษรยาอุที่แทนสระอาจเชื่อมต่อกับพยัญชนะตัวต่อไปได้

ใช้กำหนดการลงท้ายทางไวยากรณ์ด้วย /อัน/ /อิน/ และ /อุน/ ในภาษาอาหรับโบราณมักใช้เชื่อมกับอลิฟ แต่ไม่ค่อยใช้ในภาษาสมัยใหม่

ตัวเลขที่ใช้มี 2 แบบ คือแบบมาตรฐานกับแบบอาหรับตะวันออก ที่ใช้ในอิหร่าน ปากีสถาน และอินเดีย ในภาษาอาหรับเรียกเลขนี้ว่า ตัวเลขอินเดีย (????? ????? arq?m hindiyyah) ในแอฟริกาเหนือปัจจุบันใช้ตัวเลขแบบตะวันตก ในยุคกลางมีการใช้ตัวเลขแบบตะวันตกที่ต่างไปเล็กน้อย (เช่นจากอิตาลี) การเขียนตัวเลขต่างจากตัวอักษรคือเขียนจากซ้ายไปขวา

นอกจากนี้อักษรอาหรับใช้แทนเลขได้ด้วยแต่ใช้น้อยในปัจจุบัน การใช้ขึ้นกับอันดับอับญะดีย์ เช่น ?= 1 ? = 2 ?= 3 จนกระทั่ง 1000 = ?

พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944