อักษรออร์คอน
อักษรออร์คอน เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาเตอร์กิกพบครั้งแรกในหุบเขาแม่น้ำออร์คอน ประเทศมองโกเลีย มีอายุราว พ.ศ. 1300 ลักษณะคล้ายอักษรรูนส์ ซึ่งอาจจะมาจากอิทธิพลของวัสดุที่ใช้เขียนที่เป็นของแข็ง เช่น หิน หรือไม้ คาดว่ามาจากอักษรซอกเดียรูปไม่โค้ง ต่อมาอักษรนี้ถูกแทนที่ด้วยอักษรอุยกูร์ที่พัฒนามาจากอักษรซอกเดียตัวโค้ง เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน หรือจากล่างขึ้นบนและขวาไปซ้ายในแนวตั้ง โดยหมุนตัวอักษรไป 90องศา พยัญชนะบางตัวมีสองรูป สำหรับใช้เป็นสระหน้าและสระหลัง พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/อักษรออร์คอน
|