อักษรพักส์-ปา
อักษรพักส์-ปา (อังกฤษ: Phags-pa alphabet) กุบไลข่านมอบหมายให้พระลามะจากทิเบตชื่อ มติธวจะ ศรีภัทร (1782 – 1823) ประดิษฐ์อักษรใหม่สำหรับภาษามองโกเลียขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1812 ในขณะนั้นภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษรอุยกูร์ซึ่งไม่เหมาะกับเสียงในภาษา ศรีภัทรออกแบบอักษรใหม่โดยใช้อักษรทิเบตเป็นแบบ ปัจจุบันอักษรนี้เลิกใช้แล้ว หนังสือใหม่สุดที่เขียนด้วยอักษรนี้ เขียนเมื่อ พ.ศ. 1895 เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา พยัญชนะมีเสียงอะ พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/อักษรพักส์-ปา
|