อักษรตันกัท
อักษรตันกัต (Tangut script) มีพื้นฐานจากอักษรจีนและอักษรคีตัน ใชในการแปลคัมภีร์ทางพุทธศาสนาจากภาษาสันสกฤตและภาษาอื่น ประดิษฐ์ขึนเมื่อราวพ.ศ. 1580 ใช้มาจนถึงราว พ.ศ. 2100 การถอดความอักษรตันกัตใช้พจนานุกรมจีน- ตันกัตที่เขียนขึ้นเมื่อราวพ.ศ. 1700 การออกเสียงของอักษรนี้ยังไม่แน่นอน เป็นระบบการเขียนแบบโลโกแกรม มี 6,600 ตัว แสดงความหมายและเสียงในวิธีการเดียวกับอักษรจีน พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/อักษรตันกัท
|