อักษรคุปตะ
อักษรคุปตะ พัฒนามาจากอักษรพราหมี จัดอยู่ในกลุ่มอินเดียเหนือ พบในสมัยราชวงศ์คุปตะ ในช่วงพ.ศ. 943 อักษรนี้ยังใช้ต่อมา แม้ว่าราชวงศ์คุปตะจะหมดอำนาจลง ด้วยการรุกรานของชาวหุณ (Hun) เมื่อราว พ.ศ. 1100 อีกราว 200 ปีต่อมา อักษรนี้พัฒนาไปเป็นอักษรนคริ และอักษรสรทะ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของอักษร ที่ใช้ในอินเดียเหนือในปัจจุบัน พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/อักษรคุปตะ
|