อักษรกทัมพะ
อักษรกทัมพะ เป็นอักษรรุ่นแรกทางภาคใต้ของอินเดีย พัฒนามาจากอักษรพราหมี เริ่มมีรูปแบบต่างจากอักษรพราหมี ในราวพ.ศ. 1043 ปัจจุบันใช้ในรัฐการณกะ และอันธรประเทศในอินเดียภาคใต้ อักษรนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกันนาดาโบราณ ที่ใช้เขียนภาษาเตลุกุ และภาษากันนาดา เมื่อประมาณพ.ศ. 1543 พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอานาโตเลีย (คาเรีย ? ลิเชีย ? ลิเดีย ? ลูเวีย) ? รูปลิ่ม (ซูเมอร์ ? แอกแคด ? อีลาไมต์) ? ตงปา ? ตันกัท ? มายา ? อี้พื้นฐานจากอักษรจีน: คันจิ ? คีตัน ? อักษรจีน (ตัวเต็ม ? ตัวย่อ) ? จื๋อโนม ? จูร์เชน ? น่าซี ? สือดิบผู้จ่อง ? ฮันจา
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/อักษรกทัมพะ
|