ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

องค์การเภสัชกรรม

องค์การเภสัชกรรม เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จัดตั้งเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ตามพระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม พ.ศ. 2509 เป็นการรวมกันของกองโอสถศาลาและกองงานเภสัชกรรม เพื่อผลิตยาและเวชภัณฑ์ภายในประเทศ แก้ปัญหาการนำเข้ายาจากต่างประเทศและส่งเสริมเภสัชอุตสาหกรรมภายในประเทศให้เจริญยิ่งขึ้น

นอกจากการผลิตและจำหน่ายยาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว องค์การเภสัชกรรมยังมีหน้าที่วิจัยยา เพื่อป้องกันรักษาโรคภัยที่เกิดขึ้นใหม่ รวมถึงการให้ความรู้ถึงวิธีการใช้ยาที่ถูกต้อง เหมาะสม รวมถึงเรื่องสุขอนามัยอื่นๆ แก่ประชาชน

ในสมัยก่อน ประเทศไทยไม่มีการผลิตยาเชิงอุตสาหกรรมใช้เองภายในประเทศ ยาส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าจากต่างประเทศซึ่งมีราคาสูง เภสัชกร ดร. ตั้ว ลพานุกรม อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์ กระทรวงเศรษฐการในขณะนั้น ได้ดำริให้ก่อตั้งกองเภสัชกรรมขึ้น เพื่อวิจัยเภสัชภัณฑ์และสมุนไพรที่สามารถนำมาสังเคราะห์เป็นยาได้ เนื่องจากประเทศไทยมีอัตราการนำเข้ายาจากต่างประเทศสูงขึ้นทุกปี และยาสมุนไพรที่ใช้ภายในประเทศขาดมาตรฐานเภสัชตำรับ จึงดำริจะสร้างโรงงานเภสัชกรรมขึ้นเพื่อผลิตยาใช้ในประเทศและส่งเสริมเภสัชอุตสาหกรรมภายในประเทศให้พัฒนายิ่งขึ้น จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างในที่ดิน ซึ่งเช่าจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ที่ตำบลพญาไท ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2482

รูปแบบการบริหารงานโรงงานเภสัชกรรมไม่ได้ขึ้นตรงต่อกรมวิทยาศาสตร์ แต่มีคณะกรรมการอำนวยการซึ่งแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรี เภสัชกร ดร. ตั้ว ลพานุกรม ประธานคณะกรรมการบริหารในขณะนั้น ได้ดำเนินการกู้เงินกระทรวงการคลังจำนวน 5 แสนบาทเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในระยะเริ่มแรก โดยมีการผลิตยาจำหน่าย 25 ขนาน และยาจากกรมวิทยาศาสตร์ซึ่งผลิตแต่ครั้งเป็นศาลาแยกธาตุอีก 4 ขนาน

ต่อมาในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484 ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาในประเทศไทย ปีต่อมาจึงได้มีการปรับหน่วยงานกระทรวง ทบวง และกรมใหม่ โดยมีการก่อตั้งกระทรวงสาธารณสุขขึ้น โรงงานเภสัชกรรมจึงย้ายไปสังกัดกองเภสัชกรรม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2485 และมีการเปิดโรงงานเภสัชกรรมอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485 โดยมี พ.อ.ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขในขณะนั้นเป็นประธานในพิธี

สงครามในขณะนั้นทำให้ประชาชนอพยพไปอาศัยอยู่นอกเมือง โรงงานเภสัชกรรมต้องขนย้ายทรัพย์สินบางส่วนไปยังวัดบางเดื่อ จังหวัดปทุมธานี ทำให้ไม่สามารถผลิตยาได้ตามเป้าประสงค์ เนื่องด้วยโรงงานเภสัชกรรมในขณะนั้นยังไม่มีความชำนาญด้านเครื่องจักรกลผลิตยา จึงต้องดัดแปลงหาเครื่องมืออื่นในการผลิตยาแทน ซึ่งในขณะนั้นก็ประสบปัญหายารักษาโรคมีราคาสูง และโรงงานเภสัชกรรมก็ขาดแคลนวัตถุดิบ จึงต้องหาวัตถุดิบในประเทศด้วยตนเอง

เมื่อสงครามสิ้นสุดลง โรงงานเภสัชกรรมสามารถผลิตยาเพิ่มเติมได้อีกหลายขนาน และจำหน่ายแก่ประชาชนในราคาย่อมเยา แต่เนื่องจากอุปสงค์ต่อยาในขณะนั้นสูงมาก จึงทำกำไรให้องค์การเภสัชกรรมได้เป็นอย่างดี และมีเงินคืนเงินกู้ของกระทรวงการคลังในเดือนมกราคม พ.ศ. 2487 และเมื่อกิจการของโรงงานเภสัชกรรมมั่นคงดีแล้ว กองโอสถศาลา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงโอนงานผลิตยาตำราหลวงให้โรงงานเภสัชกรรมผลิตเพียงผู้เดียว

ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2500 ศาสตราจารย์เภสัชกร ดร. จำลอง สุวคนธ์ เข้ามาดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการองค์การเภสัชกรรมตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2504 นอกจากโรงงานเภสัชกรรมจะขยายกิจการด้วยเงินกำไรขององค์การแล้ว ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีพระราชประสงค์ให้โรงงานเภสัชกรรมสามารถผลิตน้ำเกลือฉีดได้มากขึ้น จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องกลั่นน้ำ ซึ่งนำเข้ามาจากประเทศสหรัฐอเมริกา มาถึงประเทศไทยเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2503 และติดตั้งใช้การได้ในปี พ.ศ. 2504 ซึ่งผลิตขึ้นเพื่อใช้ในกระบวนการรักษาอหิวาตกโรคที่ระบาดในขณะนั้น

ภายหลังการดำเนินงานของโรงงานเภสัชกรรมกว่า 20 ปี โรงงานเภสัชกรรมประสบภาวะขาดทุนในปี พ.ศ. 2503 ต่อเนื่องถึงปี พ.ศ. 2504 ฯพณฯ พระบำราศนราดูร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และประธานกรรมการอำนวยการโรงงานเภสัชกรรมในขณะนั้น จึงแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงกิจการด้านการบริหารและวิชาการของโรงงานเภสัชกรรม และคณะกรรมการอำนวยการโรงงานเภสัชกรรมได้แต่งตั้ง นายแพทย์จิตต์ เหมะจุฑา เป็นผู้อำนวยการโรงงานเภสัชกรรม ส่งผลให้กิจการโรงงานเภสัชกรรมดีขึ้นตามลำดับ

เนื่องจากการทำงานของโรงงานเภสัชกรรมและกองโอสถศาลามีความซ้ำซ้อนกัน คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงกิจการด้านบริหารและวิชาการของโรงงานเภสัชกรรมจึงสรุปข้อพิจารณาว่าควรรวมงานของทั้งสององค์กรเข้าด้วยกัน คณะกรรมการอำนวยการโรงงานเภสัชกรรม และกระทรวงสาธารณสุขได้เห็นชอบที่จะรวมโรงงานเภสัชกรรมกับกองโอสถศาลาให้เป็นกิจการเดียวกัน และมีคำสั่งจากคณะรัฐมนตรีให้รวมกิจการตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2506 เป็นต้นไป และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ลงพระปรมาภิไธย ตรา พระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม พุทธศักราช 2509 ให้ไว้ ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2509 และเริ่มดำเนินงานในฐานะองค์การเภสัชกรรมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2509 เป็นต้นมา


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301