ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

หลวงเดชสหกรณ์

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตประธานองคมนตรี อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์

ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเดชสหกรณ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยกลับไปใช้ชื่อเดิม เมื่อ พ.ศ. 2484

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ จบการศึกษาปริญญาเอกจาก มหาวิทยาลัยกรุงเบิร์น ประเทศเยอรมนี ในสาขาเศรษฐศาสตร์

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (หลวงเดชสหกรณ์) เป็นบุตรชายคนที่ 3 ของพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงษานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) ในสายเจ้าพระยามุขมนตรี (เกด สิงหเสนี) เกิดที่วังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ตำบลป้อมปราบศัตรูพ่าย อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย จังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 ขณะที่ท่านบิดามียศและบรรดาศักดิ์เป็นพันตรี หม่อมชาติเดชอุบล (หม่อมราชินิกุล) มีพี่น้องทั้งหมด คือ

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ได้เข้าศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนบ้านคุณหญิงหงษ์ ภริยาพลตรี พระยาสิงหเสนีศรีสยามเมนทร์สวามิภักดิ์ ผู้มีศักดิ์เป็นป้า ใน พ.ศ. 2449 ได้เข้าเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นเวลา 5 ปี สอบไล่ได้ชั้น 2 ต่อมาเมื่อทางราชการได้ย้ายโรงเรียนราชวิทยาลัยจากโรงเลี้ยงเด็กไปเปิดใหม่เป็นโรงเรียนกินนอนโดยเฉพาะ (แบบ Public School ของอังกฤษ) สังกัดกระทรวงยุติธรรม ที่ตำบลบางขวาง จังหวัดนนทบุรี เมื่อ พ.ศ. 2454 ท่านบิดาจึงให้หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ พร้อมกับพี่และน้องชายอีก 3 คน เข้าเรียนโรงเรียนนี้ตั้งแต่เริ่มแรกจนสอบไล่ได้ชั้น 6

ใน พ.ศ. 2457 หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้ออกไปศึกษาวิชา ณ ประเทศเยอรมนีด้วยทุนของรัฐบาลพร้อมกับหม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ ได้ออกเดินทางจากประเทศสยาม เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 เพื่อให้ได้รับการฝึกอบรมให้คุ้นเคยกับขนบธรรมเนียมชีวิตในครอบครัวของชาวเยอรมัน และเรียนภาษาเยอรมันและฝรั่งเศสเป็นการเตรียมตัวเข้าโรงเรียนมัธยมของรัฐบาลประเภท Oberrealschule ในชั้น 4 (มีทั้งหมด 4 ชั้น) ในทันปีการศึกษา 2458 สถานทูตไทยที่กรุงเบอร์ลินจึงได้จัดให้อยู่กับครอบครัวของ Prof. A. Schaeffer ที่เมือง Halberstadt ในแคว้น Saxony ในครอบครัวและโรงเรียนมัธยมของรัฐบาลนี้ ได้มีคนไทยคือ นายจรัญ บุนนาค และนายประจวบ บุนนาค บุตรพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) อาศัยและเรียนอยู่ก่อนแล้ว

เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อุบัติขึ้นเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2457 และประเทศสยามยังมิได้ประกาศสงครามกับประเทศเยอรมนีนั้น การศึกษาของหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ มิได้รับความกระทบกระเทือนแต่ประการใด ได้เข้าเรียนในชั้น 4 ของโรงเรียนมัธยมใน พ.ศ. 2458 ตามที่กำหนดไว้เดิม และได้เรียนจบชั้น 6 เมื่อ พ.ศ. 2460 แต่เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 ประเทศสยามได้ประกาศสงครามกับประเทศเยอรมนี และประเทศออสเตรีย - ฮังการี โดยเข้าเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร รัฐบาลเยอรมันจึงได้จับกุมนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศเยอรมนีทั้งหมดรวม 9 คน (ยกเว้น นายปุ่น ชูเทศะ ซึ่งยังเป็นเด็กมีอายุเพียง 12 หรือ 13 ปี) ไว้เป็นเชลยและเป็นตัวประกัน สำหรับชาวเยอรมันทั้งหมดที่อยู่ในประเทศสยามและถูกทางรัฐบาลจับกุมคุมขังไว้ ณ ค่ายกักกันในวันที่ประเทศสยามประกาศสงคราม หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ถูกจับกุมที่กรุงเบอร์ลินเมื่อต้นเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2460 พร้อมกับนักเรียนไทยอีก 4 คน คือ นายเติม บุนนาค, นายตั้ว ลพานุกรม, นายประจวบ บุนนาค และหม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ และทางราชการทหารได้นำตัวไปฝากขังไว้ในคุกแห่งหนึ่งของกรุงเบอร์ลินเป็นเวลา 15 วัน แล้วจึงย้ายไปคุมขังไว้ที่ค่ายกักกันนายทหารกองหนุน ชื่อ Celle-Schloss ที่เมือง Celle ใกล้เมือง Hannover ตั้งแต่กลางเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2460 จนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2461 เมื่อได้ย้ายมาอยู่ค่ายนี้ไม่ต้องทำงานแต่ประการใด และเมื่อได้ทราบว่าคนไทย 3 คน คือ หม่อมหลวงไพจิตร สุทัศน์, นายกระจ่าง บุนนาค และนายจรัญ บุนนาค ซึ่งถูกคุมขังอยู่ที่เมือง Holzminden ต้องทำงานหนักตลอดวัน จึงได้ร้องขอให้ย้ายมาขังรวมกันที่ Celle-Schloss และก็ได้รับความสำเร็จตามที่ร้องขอนั้น

ต่อมาเมื่อเกิดปฏิวัติขึ้นประเทศเยอรมนี ต้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2461 บรรดาเชลยศึกในค่ายกักกันต่าง ๆ ได้ถูกปลดปล่อยให้กลับบ้านเมืองของตนได้ คณะนักเรียนไทยซึ่งยังมีเหลืออยู่เพียง 7 คน เพราะนายจรัญ บุนนาค ได้ป่วยเป็นวัณโรค และเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง ต่อมาได้มีนายปุ่น ชูเทศะ ได้เข้ามาสมทบอีกจึงมีเป็น 8 คน ได้เดินทางโดยรถไฟผ่านประเทศเบลเยี่ยมไปกรุงปารีสเพื่อรายงานตัวต่อท่านอัครราชทูตไทย

เมื่อเสร็จสงครามโลกแล้ว นักเรียนไทยคนอื่น ๆ ได้เดินทางกลับมาเยี่ยมบ้านพร้อมกับกองทหารอาสา แต่หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ นั้น ท่านบิดาเห็นว่าได้เสียเวลามาแล้วถึง 3 ปี ไม่ควรเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านพร้อมกับกองทหารอาสาสงคราม หากแต่ควรรีบศึกษาต่อโดยไม่ชักช้า ทางราชการจึงจัดให้เรียนวิชาสามัญ (ต่อจากโรงเรียนในประเทศเยอรมนี) ที่กรุงเบอร์น ประเทศสวิตเซอรแลนด์ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2462 โดยให้อยู่ในความปกครองดูแลของท่านอัครราชทูตไทย ประจำกรุงปารีส พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อได้ใช้เวลาเตรียมตัวประมาณ 18 เดือนแล้ว หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ได้เข้าสอบไล่เข้ามหาวิทยาลัย Contonal Matriculation ได้ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2463 ต่อจากนั้นก็ได้เข้าศึกษา ณ มหาวิทยาลัยกรุงเบอร์น ในวิชาเศรษฐศาสตร์จนจบชั้นดุษฎีบัณฑิต (Doktor rerum Politicarum) ชั้นเกียรตินิยม (Cum Laude) ใน พ.ศ. 2468 หลังจากนั้นได้เดินทางไปประเทศอังกฤษ เพื่อเรียนภาษาและศึกษาค้นคว้าประวัติเศรษฐศาสตร์และการค้าระหว่างประเทศไทยกับสหราชอาณาจักรอีกประมาณ 6 เดือน แล้วจึงลงเรือเดินทางกลับประเทศไทย เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2469 ถึงประเทศไทยเมื่อวันที่ 27 มกราคม ศกเดียวกัน และได้รายงานตัวที่กระทรวงพาณิชย์ในวันรุ่งขึ้น

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย • เสริม วินิจฉัยกุล • เล้ง ศรีสมวงศ์ • พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย • เล้ง ศรีสมวงศ์ • หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ • เสริม วินิจฉัยกุล • เกษม ศรีพยัคฆ์ • โชติ คุณะเกษม • ป๋วย อึ๊งภากรณ์ • พิสุทธิ์ นิมมานเหมินท์ • เสนาะ อูนากูล • นุกูล ประจวบเหมาะ • กำจร สถิรกุล • ชวลิต ธนะชานันท์ • วิจิตร สุพินิจ • เริงชัย มะระกานนท์ • ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ • หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล • หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล • ธาริษา วัฒนเกส • ประสาร ไตรรัตน์วรกุล • วิรไท สันติประภพ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301