ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

สัญกรณ์โอใหญ่

ในวิชาทฤษฎีความซับซ้อนและคณิตศาสตร์ สัญกรณ์โอใหญ่ (อังกฤษ: Big O notation) เป็นสัญกรณ์คณิตศาสตร์ที่ใช้บรรยายพฤติกรรมเชิงเส้นกำกับของฟังก์ชัน โดยระบุเป็นขนาด (magnitude) ของฟังก์ชันในพจน์ของฟังก์ชันอื่นที่โดยทั่วไปซับซ้อนน้อยกว่า สัญกรณ์โอใหญ่เป็นหนึ่งในสัญกรณ์เชิงเส้นกำกับ หรืออาจเรียกว่า สัญกรณ์ของลันเดา หรือ สัญกรณ์ของบัคแมนน์-ลันเดา (ตั้งชื่อตามเอ็ดมุนด์ ลานเดาและเพาล์ บาคมันน์) สัญกรณ์โอใหญ่ใช้ในการเขียนเพื่อประมาณพจน์ในคณิตศาสตร์ ประยุกต์ใช้ในวิทยาการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้อธิบายความเร็วประมาณทำงานของโปรแกรมในกรณีต้องประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก และใช้เพื่ออธิบายประสิทธิภาพของขั้นตอนวิธีหรือโครงสร้างข้อมูลนั้น ๆ

สัญกรณ์โอใหญ่ระบุลักษณะของฟังก์ชันตามอัตราการเติบโต ถึงแม้ฟังก์ชันจะต่างกัน แต่ถ้ามีอัตราการเติบโตเท่ากันก็จะมีสัญกรณ์โอใหญ่เท่ากัน สำหรับสัญกรณ์โอใหญ่แล้ว จะพิจารณาเฉพาะขอบเขตบนของอัตราการเติบโตของฟังก์ชัน อาทิฟังก์ชัน n 2 + n {\displaystyle n^{2}+n} และ n + 4 {\displaystyle n+4} ล้วนมีอัตราการเติบโตน้อยกว่าหรือเท่ากับ n 2 {\displaystyle n^{2}} นั่นคืออัตราการเติบโตของฟังก์ชัน n 2 {\displaystyle n^{2}} เป็นขอบเขตบนของ n 2 + n {\displaystyle n^{2}+n} และ n + 4 {\displaystyle n+4} จึงอาจกล่าวได้ว่า n 2 + n {\displaystyle n^{2}+n} และ n + 4 {\displaystyle n+4} เป็นสมาชิกของเซตของฟังก์ชัน O ( n 2 ) {\displaystyle O(n^{2})} ในขณะที่สัญกรณ์เชิงเส้นกำกับอื่น พิจารณาขอบเขตอื่น ๆ เช่นสัญกรณ์โอเมกาใหญ่พิจารณาขอบเขตล่างของอัตราการเติบโตของฟังก์ชันแทน

แนวคิดของสัญกรณ์โอใหญ่ถูกคิดโดยนักทฤษฎีจำนวนที่ชื่อเพาล์ บาคมันน์ (Paul Bachmann) จากงานตีพิมพ์ของเขาที่ชื่อว่า Analytische Zahlentheorie (ทฤษฎีจำนวนวิเคราะห์) ในปี 1894 โดยครั้งนั้นยังไม่ได้ใช้ตัวสัญกรณ์โอใหญ่ สำหรับตัวสัญกรณ์โอใหญ่เองได้รับการใช้อย่างแพร่หลายโดยนักทฤษฎีจำนวนชาวเยอรมัน ที่มีชื่อว่า เอ็ดมุนด์ ลานเดา (Edmund Landau) ชื่อของเขาบางครั้งได้รับการยกย่องให้เป็นชื่อของสัญกรณ์โอใหญ่ว่าเป็น สัญกรณ์ของลานเดา (Landau notation) หรือ สัญกรณ์แบชมาน-ลานเดา (Bachmann-Landau notation) สำหรับตัวสัญกรณ์ที่เขียนเป็นรูปโอใหญ่นั้นได้แนวคิดมาจากคำว่า "order of" ซึ่งเดิมทีนั้นเขียนโดยใช้เป็นโอไมครอนใหญ่

อัตราการเติบโตของฟังก์ชันใด ๆ มีค่าเป็นสัญกรณ์โอใหญ่ของอีกฟังก์ชันหนึ่งแล้ว แสดงว่าอัตราการเติบโตของฟังก์ชันใด ๆ นั้นจะ โตน้อยกว่าหรือเท่ากับ อัตราการเติบโตของฟังก์ชันดังกล่าว ดังนั้นจึงอาจนิยามได้ว่า

อย่างไรก็ตาม นิยามนี้จำกัดเฉพาะกรณี n → ∞ {\displaystyle n\to \infty } เท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพออธิบายในกรณีที่ n → a {\displaystyle n\to a} ดังนั้นจึงอาจใช้นิยามในอีกรูปแบบ ในการขยายไปถึงสัญกรณ์โอใหญ่กณิกนันต์ ซึ่งเป็นพิจารณาอัตราการเติบโตของฟังกชันรอบ ๆ จุด a ใด ๆ

หรือในอีกนิยามที่พิจารณาอัตราการเติบโตของฟังก์ชันรอบ ๆ พิกัด ( k 0 , k 1 , … , k n ) {\displaystyle (k_{0},k_{1},\ldots ,k_{n})} ใด ๆ ว่า

สัญกรณ์โอใหญ่มีการใช้ในสองกรณีด้วยกัน ได้แก่ กรณีเส้นกำกับอนันต์ และ กรณีเส้นกำกับกณิกนันต์ ความแตกต่างระหว่างสองกรณีนี้เป็นความแตกต่างในขั้นการประยุกต์ใช้ มิใช่ในขั้นหลักการ อย่างไรก็ตาม นิยามเชิงรูปนัยของ "โอใหญ่" นั้นเหมือนกันในทั้งสองกรณี มีเพียงลิมิตสำหรับอาร์กิวเมนต์ของฟังก์ชันเท่านั้นที่แตกต่างกัน

สัญกรณ์โอใหญ่มีประโยชน์ในการใช้วิเคราะห์ขั้นตอนวิธี เพื่อหาประสิทธิภาพของขั้นตอนวิธี ตัวอย่างเช่น สมมติให้เวลา (หรือจำนวนขั้นตอน) ที่ใช้ในการแก้ปัญหาขนาด n มีฟังก์ชันเป็น T ( n ) = 4 n 2 − 2 n + 2 {\displaystyle T(n)=4n^{2}-2n+2}

เมื่อ n มีค่ามากขึ้น พจน์ n2 จะใหญ่ขึ้นครอบงำพจน์อื่น ๆ จนกระทั่งเราสามารถละเลยพจน์อื่น ๆ ได้ ยิ่งไปกว่านั้น สัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์จะขึ้นกับรายละเอียดปลีกย่อยของการนำขั้นตอนวิธีไปปฏิบัติ ตลอดจนฮาร์ดแวร์ที่ใช้ในการดำเนินการ ฉะนั้นจึงสามารถละเลยได้เช่นกัน สัญกรณ์โอใหญ่จะเก็บเฉพาะส่วนที่เหลือจากที่ละเลยได้ข้างต้น จึงเขียนได้ว่า

สัญกรณ์โอใหญ่ยังใช้เพื่อแสดงพจน์ของค่าคลาดเคลื่อนโดยประมาณในฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น

หมายความว่า เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ผลต่างของฟังก์ชัน e x {\displaystyle e^{x}} กับ 1 + x + x 2 / 2 {\displaystyle 1+x+x^{2}/2} (หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็นความคลาดเคลื่อนของสองฟังก์ชันนี้) จะมีอยู่ในสับเซตของ O ( x 3 ) {\displaystyle O(x^{3})} นั่นเอง หรือเขียนเป็นสัญลักษณ์ว่า

ในบางครั้งสัญกรณ์โอใหญ่อาจมีการครอบคลุมมากเกินไป เช่น O ( n 2 ) ⊂ O ( n 3 ) {\displaystyle O(n^{2})\subset O(n^{3})} เป็นต้น จึงทำให้สำหรับฟังก์ชันใด ๆ อาจอยู่ในเซตของสัญกรณ์โอใหญ่หลายค่า จึงมีการกำหนดรูปแบบฟังก์ชันอย่างง่าย ให้ตอบในรูปสัญกรณ์โอใหญ่มาตรฐานน้อยสุด กล่าวคือตอบในรูปแบบมาตรฐานที่เล็กที่สุด เรามักจะอนุโลมให้ใช้จากสัญลักษณ์เท่ากับ ( = {\displaystyle =} ) แทนสัญลักษณ์สมาชิก ( ∈ {\displaystyle \in } ) เมื่อใช้กับรูปสัญกรณ์โอใหญ่มาตรฐานน้อยสุดนี้ เช่น n 2 + 4 = O ( n 2 ) {\displaystyle n^{2}+4=O(n^{2})}

ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ การทำงานที่มีสัญกรณ์โอใหญ่มาตรฐานน้อยสุดมีขนาดยิ่งเล็กเท่าใด แสดงว่าทำงานได้ยิ่งเร็วเท่านั้น

สัญกรณ์โอใหญ่มาตรฐานเรียงจากขนาดเล็กไปใหญ่ (ขนาดเล็กหมายถึงจะเป็นซับเซตของขนาดที่ใหญ่กว่า) ให้ m เป็นค่าคงที่ใด ๆ ที่มากกว่าศูนย์ และ n เป็นโดเมนของฟังก์ชัน

บางครั้งเราจำเป็นต้องใช้การผสมโดยคูณเช่น O ( n l o g n ) {\displaystyle O(nlogn)} เกิดจากการคูณระหว่างเชิงเส้นและลอการิทึมย่อมทำได้


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944