ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

สมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์

สมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ หรือ สมาพันธรัฐแม่น้ำไรน์ (เยอรมัน: Rheinbund; ฝรั่งเศส: ?tats conf?d?r?s du Rhin (ชื่ออย่างเป็นทางการ) Conf?d?ration du Rhin (ชื่อในทางพฤตินัย)) เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 ก่อตั้งจากรัฐเยอรมันทั้ง 16 รัฐ โดยจักรพรรดินโปเลียนหลังจากรบชนะจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียในยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์ การลงนามในสนธิสัญญาเพรซเบิร์กได้นำไปสู่การก่อตั้งสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์ ซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1806 ถึงปี ค.ศ. 1813

สมาชิกของสมาพันธ์คือเจ้าผู้ครองนครรัฐเยอรมัน (F?rsten) ในความปกครองของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ 16 รัฐ ซึ่งในทางเทคนิคแล้ว เจ้าเหล่านี้ล้วนมิใช่ประมุขของรัฐซึ่งตนเองปกครองอยู่ ภายหลังได้มีรัฐอื่นอีก 19 รัฐเข้าร่วมในสมาพันธรัฐ ทำให้เมื่อรวมกันแล้วทำให้มีประชากรภายใต้การปกครองมากกว่า 15 ล้านคน ก่อให้เกิดผลประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์อย่างมากต่อจักรวรรดิฝรั่งเศสในแนวรบด้านตะวันออก

ในวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1806 นครรัฐ 16 รัฐ ซึ่งรวมกันเป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน ได้ลงนามในสนธิสัญญาสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ (เยอรมัน: Rheinbundakte) เพื่อแยกตัวจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และรวมตัวกันเป็นสมาพันธรัฐในชื่อ "สมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์" (?tats conf?d?r?s du Rhin) โดยอิงตามชื่อของกลุ่มรัฐเยอรมันในยุคก่อนหน้าที่เรียกว่า "สันนิบาตแห่งแม่น้ำไรน์" มีจักรพรรดินโปเลียนเป็นดำรงตำแหน่ง "ผู้อารักขา" แห่งสมาพันธรัฐ หลังจากนั้นในวันที่ 6 สิงหาคม ด้วยการยื่นคำขาดของนโปเลียน จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 จึงได้สละตำแหน่งจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และประกาศล้มเลิกจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปีต่อมา บรรดารัฐเยอรมันมากกว่า 23 รัฐก็เข้าร่วมสมาพันธรัฐ โดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 จะปกครองส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิในชื่อจักรวรรดิออสเตรีย มีเฉพาะออสเตรีย ปรัสเซีย โฮลชไตน์ส่วนที่เป็นของเดนมาร์ก และปอมเมอเรเนียของสวีเดนเท่านั้นที่อยู่นอกสมาพันธรัฐ ไม่นับรวมดินแดนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์และราชรัฐเออร์เฟิร์ตซึ่งถูกยึดครองโดยจักรวรรดิฝรั่งเศส

ตามสนธิสัญญาดังกล่าว สมาพันธรัฐจะดำเนินการโดยผู้แทนร่วมตามรัฐธรรมนูญ แต่รัฐต่าง ๆ โดยเฉพาะรัฐใหญ่ ต่างก็ต้องการมีอำนาจอธิปไตยอย่างไม่จำกัด

สมาพันธรัฐนี้มิได้มีประมุขเป็นกษัตริย์ตามอย่างที่เคยใช้ในจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ตำแหน่งสูงสุดในสมาพันธรัฐนี้เป็นของคาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์ก อดีตอัครมหาเสนาบดีผู้ที่เบื่อตำแหน่งเจ้าชาย-ไพรเมตของสมาพันธรัฐ ในฐานะดังกล่าวเขาเป็นประธานของคณะพระมหากษัตริย์ (College of Kings) และมีอำนาจเหนือ สภานิติบัญญัติแห่งสมาพันธรัฐ (Diet of the Confederation) ซึ่งมีลักษณะองค์กรคล้ายกับรัฐสภา (Parliament) อย่างไรก็ตาม องค์กรดังกล่าวนี้ไม่เคยมีการประชุมแต่อย่างไร ส่วนประธานสภาของเจ้าผู้ครองนครคือเจ้าชายแห่งนัสเซา-อูซินเงน

ในความเป็นจริงแล้ว สมาพันธรัฐมีสถานะเป็นพันธมิตรทางการทหาร กล่าวคือ รัฐสมาชิกของสมาพันธรัฐจะต้องส่งกำลังทหารสนับสนุนจำนวนมากให้แก่ฝรั่งเศส โดยที่ผู้ปกครองรัฐจะได้รับการยกสถานะดินแดนของตนขึ้นเป็นการตอบแทน เช่น บาเดิน (ปัจจุบันดินแดนส่วนตะวันตกอยู่ในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก) เฮสเซิน คลีฟส์ (Cleves) และเบิร์ก (ทั้งสองแห่งปัจจุบันอยู่ในรัฐนอร์ดไรน์-เวสต์ฟาเลน) ได้ยกฐานะขึ้นเป็นแกรนด์ดัชชี ส่วนเวือร์ทเทมแบร์กและบาวาเรีย ได้ยกฐานะขึ้นเป็นราชอาณาจักร นอกจากนี้บางรัฐยังมีอาณาเขตเพิ่มมากขึ้นโดยได้รับเอา "Kleinstaaten" หรือรัฐขนาดเล็กหลาย ๆ แห่งที่เคยเป็นสมาชิกของจักรวรรดิมาควบรวมเข้าไป

หลังปรัสเซียพ่ายแพ้ต่อฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1806 รัฐขนาดกลางและขนาดเล็กจำนวนมากก็เข้าร่วมกับสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ โดยขยายตัวมากที่สุดในปี ค.ศ. 1808 ประกอบด้วย 4 ราชอาณาจักร 5 แกรนด์ดัชชี 13 ดัชชี 17 พรินซิพาลิตี และนครรัฐอิสระฮันเซียติค ได้แก่ เมืองฮัมบูร์ก ลือเบค และ เบรเมิน

ในปี ค.ศ. 1810 ส่วนใหญ่ของเยอรมนีตะวันออกเฉียงเหนือก็รวมเข้ากับจักรวรรดินโปเลียนอย่างเร่งด่วน ตามคำสั่งการห้ามค้าขายระหว่างประเทศกับสหราชอาณาจักร ตามนโยบายการปิดล้อมภาคพื้นทวีป ซึ่งบังคับให้ชาวยุโรปค้าขายกันเองโดยไม่ต้องพึ่งอังกฤษ

สมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์สลายตัวในปี ค.ศ. 1813 อันเนื่องมาจากการที่จักรพรรดินโปเลียนพ่ายสงครามแก่จักรวรรดิรัสเซีย สมาชิกจำนวนมากย้ายฝ่ายหลังจากสิ้นสุดยุทธการที่ไลพ์ซิก เมื่อการณ์ปรากฏชัดว่าจักรพรรดินโปเลียนจะแพ้ในสงครามสัมพันธมิตรครั้งที่ 6 อย่างแน่นอนแล้ว

ตารางต่อไปนี้แสดงรายนามรัฐสมาชิกของสมาพันธรัฐและวันที่เข้าร่วม พร้อมทั้งจำนวนกำลังทหารในความปกครอง (แสดงด้วยตัวเลขในวงเล็บ)

ฝ่ายพันธมิตรได้คัดค้านจักรพรรดินโปเลียนในการยุบสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1813 แต่ไม่เป็นผล ต่อมาหลังการเลิกล้มสมาพันธรัฐ ก็มีความพยายามที่จะรวมชาติเยอรมนีอีกครั้ง กระทั่งเมื่อมีการสถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันในวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1815 โดยองค์กรบริหารของสมาพันธรัฐนี้เรียกว่าสภาการปกครองส่วนกลาง (เยอรมัน: Zentralverwaltungsrat) โดยประธานสภาได้แก่ ไฮน์ริช ฟรีดริช คาร์ล ไรช์สไฟรเฮอร์ ฟอม อุนด์ ซุม สไตน์ (ค.ศ. 1757 – 1831) ซึ่งต่อมาองค์กรนี้ก็ได้ล้มเลิกไปในวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1815

ในปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาได้ร่างแผนที่รัฐกิจของยุโรปภาคพื้นทวีปขึ้นใหม่ รัฐสมาชิกของสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ที่เหลืออยู่ส่วนมากมีการเปลี่ยนแปลงเขตแดนเพียงเล็กน้อย และมีผลทำให้เกิดสมาพันธรัฐเยอรมัน ซึ่งประกอบด้วยรัฐสมาชิกจำนวนใกล้เคียงใกล้เคียงกับสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944