ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ศาลาเฉลิมกรุง

ศาลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เปิดฉายภาพยนตร์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2476 (สมัยรัชกาลที่ 7)

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2485-2488 (รัชกาลที่ 8) ใช้เป็นที่แสดงละครเวทีและดนตรี เนื่องจากไม่มีภาพยนตร์ฉาย

ต่อมามีการปรับปรุงใหญ่โดย บริษัทเฉลิมกรุงมณีทัศน์ สามารถใช้ได้ทั้งฉายภาพยนตร์และการแสดงบนเวทีขนาดกว้างขวางกว่าเดิม ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 ในนาม เฉลิมกรุงรอยัลเธียเตอร์ และการแสดงโขนจินตนฤมิตร

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ภาพยนตร์เป็นมหรสพและ การสื่อสารมวลชนที่มีบทบาทสำคัญยิ่ง สามารถเทียบได้กับการโทรทัศน์ในปัจจุบัน โรงภาพยนตร์ในสยามสมัยนั้นมีประมาณ 20 โรง กระจายอยู่ทั่วเขตพระนครและธนบุรี จัดฉายภาพยนตร์นำเข้าจากต่างประเทศ (มากกว่าครึ่งเป็นภาพยนตร์จากสหรัฐ หรือจาก ฮอลลีวู้ด)

สภาพโรงภาพยนตร์ตั้งแต่ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีขนาดเล็กคล้ายโรงไม้ หลังคามุงสังกะสี จนกระทั่ง วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2473 รัชกาลที่ 7 ได้เสด็จฯประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างโรงภาพยนตร์ถาวรแห่งใหม่ที่โอ่อ่าทันสมัยเพื่อเป็นที่ระลึกการเฉลิมฉลองพระนครที่จะมีอายุครบ 150 ปี ใน พ.ศ. 2475 ขนาดจุผู้ชมได้มากกว่า 1,000 ที่นั่ง และเป็นโรงมหรสพแห่งแรกในเอเชียมีเครื่องปรับอากาศระบบไอน้ำ (Chilled Water System)

ตัวอาคารรูปสี่เหลี่ยมสูงแบบโมเดิร์นสไตล์ (Modern Style) ตั้งอยู่บริเวณหัวถนนเจริญกรุงตัดกับถนนตรีเพชร ออกแบบและควบคุมงานก่อสร้างโดย หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร และ นารถ โพธิปราสาท เป็นวิศวกร สร้างโดยบริษัทบางกอก ภายในออกแบบตกแต่งเรียบง่าย ระหว่างตะวันตกผสมผสานกับไทย และได้รับพระราชทานนามว่า "ศาลาเฉลิมกรุง" เปิดฉายปฐมฤกษ์ด้วยหนังฝรั่งเสียงในฟิล์ม เรื่อง "มหาภัยใต้ทะเล" เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2476 มีรายงานว่าคนดูล้นหลามออกมาถีงถนนหน้าโรงจนรถรางยวดยานต่างๆ ติดขัดหยุดชะงักชั่วคราว

นอกจากฉายหนังฝรั่งตามปกติ หนังพูดของบริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง และ บริษัทไทยฟิล์ม (นำโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคลและคณะ) เป็นโปรแกรมหนังไทยที่ได้รับความนิยมทุกเรื่อง

ช่วงสงครามมหาเอเซียบูรพา เปลี่ยนเป็นโรงละครเวที จนสงครามสงบแล้วระยะหนึ่ง จึงกลับมาฉายภาพยนตร์อีกครั้ง เริ่มด้วย "สุภาพบุรุษเสือไทย" หนังไทย 16 มม. พากย์สด เมื่อปลายเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2492 ทำรายได้มากกว่า 3 แสนบาท สูงสุดกว่าเรื่องใดๆในเวลานั้น

บุคคลที่มีบทบาทสำคัญเป็นที่รู้จักทั่วไป คือ กายสิทธิ์ ตันติเวชกุล ผู้จัดการในช่วง พ.ศ. 2486 - 2515 รวมเวลานานถึง 29 ปี

ปัจจุบัน ยังคงเปิดดำเนินการในชื่อ "เฉลิมกรุงรอยัลเธียเตอร์" ด้วยการบริหารของบริษัทเฉลิมกรุงมณีทัศน์ จำกัด โดย มานิตย์ รัตนสุวรรณ และ นฤนล ล้อมทอง (ผู้จัดการ) ทำการปรับปรุงครั้งใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2535 โดยขยายเวทีพร้อมติดตั้งระบบไฮโดรลิกเลื่อนขึ้นลงได้และปรับที่นั่งเหลือราว 600 ที่ ยกระดับให้เป็นโรงมหรสพแห่งชาติ ระยะแรกจัดแสดงนาฏศิลป์ชั้นสูง "โขน" ผสมผสานเทคนิคทันสมัย รายการอื่นๆ เช่น ละครเวที เรื่องแรกคือ "ศรอนงค์" (ซึ่งเคยแสดง ณ ที่แห่งนี้ โดยคณะละครของพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระมเหสีในรัชกาลที่ 6) โดย อารีย์ นักดนตรี ,"ศาลาเพลง" โดย นันทวัน สุวรรณปิยะศิริ ,งานของมูลนิธิหนังไทยในพระอุปถัมภ์ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ,งานรำลึกถึงมิตร ชัยบัญชา โดย ชมรมคนรักมิตร ฯลฯ ตลอดจนฉายภาพยนตร์และการแสดงมหรสพสำคัญในบางโอกาส ได้แก่ การฉายภาพยนตร์รอบปฐมทัศน์โลกเรื่อง สุริโยไท ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรภาพยนตร์ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2544 และในปี พ.ศ. 2554 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี ทั้งสองเรื่องเป็นผลงานกำกับของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301