ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

วิศวกรรมการบินและอวกาศยาน

วิศวกรรมการบินและอวกาศ (อังกฤษ: Aerospace engineering) เป็นสาขาวิศวกรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวกับการวิจัย, การออกแบบ, การพัฒนา, การสร้าง, การทดสอบ, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ อากาศยาน และ อวกาศยาน แบ่งออกเป็นสองสาขาใหญ่ที่ทับซ้อนกัน ได้แก่ วิศวกรรมอากาศ (อังกฤษ: aeronautical engineering) และวิศวกรรมอวกาศ (อังกฤษ: astronautical engineering). วิศวกรรมอากาศเกี่ยวข้องกับอากาศยานที่ทำงานในชั้นบรรยากาศของโลก แต่วิศวกรรมอวกาศจะเกี่ยวข้องกับอวกาศยานที่ทำงานนอกชั้นบรรยากาศของโลก.

วิศวกรรมการบินและอวกาศเกี่ยวข้องกับการออกแบบ, การสร้าง, และการศึกษาวิทยาศาสตร์ที่อยู่เบื้องหลังคุณสมบัติของแรงและคุณสมบัติทางกายภาพของอากาศยาน, จรวด, ยานบิน, และยานอวกาศ. สาขานี้ยังครอบคลุมถึงลักษณะทางอากาศพลศาสตร์และพฤติกรรม, ปีก airfoil, พื้นผิวการควบคุมการบิน, การยกตัว, การลากทางอากาศพลศาสตร์, และคุณสมบัติอื่น ๆ ของพวกมัน.

วิศวกรรมอากาศเป็นคำเดิมสำหรับสาขานี้. เมื่อเทคโนโลยีการบินก้วหน้าขั้นไปจนรวมถึงผู้ปฏิบัติงานในอวกาศที่อยู่ภายนอก, คำที่กว้างกว่าได้แก่ "วิศวกรรมการบินและอวกาศ" ได้เข้ามาแทนที่อย่างกว้างขวางในการใช้งานร่วมกัน. วิศวกรรมการบินและอวกาศ, โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขาอวกาศ, มักจะถูกเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "วิทยาศาสตร์จรวด" อย่างที่นิยมใช้กัน

ยานพาหนะที่บินได้อยู่ภายใต้เงื่อนไขที่เรียกร้องในสิ่งที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงความดันบรรยากาศและอุณหภูมิ, ที่มีกับโหลดโครงสร้างที่นำมาใช้กับชิ้นส่วนยานพาหนะนั้น. ดังนั้นพวกมันมักจะเป็นผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายในสาขาวิชาเทคโนโลยีและวิศวกรรมรวมทั้งอากาศพลศาสตร์, การขับเคลื่อน, การบิน, วัสดุศาสตร์, การวิเคราะห์โครงสร้าง, และการผลิต. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีเหล่านี้เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นวิศวกรรมการบินและอวกาศ. เนื่องจากความซับซ้อนและจำนวนของสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง, วิศวกรรมการบินและอวกาศจะดำเนินการโดยทีมงานของวิศวกรซึ่งแต่ละคนมีพื้นที่ความเชี่ยวชาญเฉพาะของตัวเอง.

การพัฒนาและการผลิตยานพาหนะที่บินได้สมัยใหม่เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนอย่างยิ่งและต้องการความสมดุลและการประนีประนอมอย่างระมัดระวังระหว่างความสามารถ, การออกแบบ, เทคโนโลยีที่มีอยู่และค่าใช้จ่าย. วิศวกรการบินและอวกาศจะออกแบบ, ทดสอบ, และกำกับดูแลการผลิตอากาศยาน, อวกาศยาน, และขีปนาวุธ. วิศวกรการบินและอวกาศจะพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ สำหรับใช้ในการบิน, ระบบการป้องกัน, และในอวกาศ.

ที่มาของวิศวกรรมการบินและอวกาศสามารถย้อนกลับไปถึงผู้บุกเบิกการบินราวช่วงปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20, ถึงแม้ว่างานของเซอร์จอร์จ เคย์ลี จะเคยบุกเบิกไว้ก่อนแล้วในช่วงทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 18 ถึงกลางศตวรรษที่ 19. หนึ่งในคนที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ของการบิน เคย์ลีเป็นผู้บุกเบิกคนหนึ่งในวิศวกรรมการบิน และได้รับการยกย่องว่าเป็นคนแรกที่จะแยกแรงยกและแรงลากซึ่งมีผลกระทบบินของยานพาหนะใด ๆ . ความรู้เบื้องแรกของวิศวกรรมการบินส่วนใหญ่เป็นเชิงประจักษ์กับแนวความคิดและทักษะบางอย่างที่ถูกนำเข้ามาจากสาขาอื่น ๆ ของวิศวกรรม. นักวิทยาศาสตร์เข้าใจองค์ประกอบสำคัญบางอย่างของวิศวกรรมการบินและอวกาศเช่นพลศาสตร์ของไหล (อังกฤษ: fluid dynamics), ในศตวรรษที่ 18. หลายปีต่อมาหลังจากการบินที่ประสบความสำเร็จโดยพี่น้องตระกูลไรท์, ในช่วงปี 1910s เราได้เห็นการพัฒนาของวิศวกรรมการบินผ่านการออกแบบของอากาศยานทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ความหมายแรกของวิศวกรรมการบินและอวกาศปรากฏในเดือนกุมภาพันธ์ปี 1958. ความหมายได้พิจารณาว่าชั้นบรรยากาศของโลกและอวกาศด้านนอกเป็นดินแดนเดียวกัน ดังนั้นจึงครอบคลุมทั้งยานบินในอากาศ (aero) และยานอวกาศ ("space") ภายใต้คำใหม่ว่า"การบินและอวกาศ". ในการตอบสนองปล่อยดาวเทียมดวงแรกของสหภาพโซเวียต, ยานสปุตนิกเข้าสู่อวกาศในวันที่ 4 ตุลาคม 1957, วิศวกรการบินและอวกาศสหรัฐได้ปล่อยดาวเทียมอเมริกันดวงแรกในวันที่ 31 มกราคม 1958. องค์การการบินและอวกาศแห่งชาติหรือนาซา (อังกฤษ: National Aeronautics and Space Administration (NASA)) ได้ก่อตั้งขึ้นในปี 1958 เพื่อตอบสนองต่อสงครามเย็น.

ห้วข้อนี้ต้องการขยายความด้วยประวัติศาสตร์ที่ใหม่กว่า รวมทั้งเหตุการณ์ที่เพิ่งผ่านมาเร็ว ๆ นี้ (พฤศจิกายน 2009)

พื้นฐานของส่วนใหญ่ขององค์ประกอบเหล่านี้อยู่ในทฤษฎีฟิสิกส์, เช่นพลศาสตร์ของเหลวสำหรับอากาศพลศาสตร์หรือสมการของการเคลื่อนไหวสำหรับพลศาสตร์การบิน. นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบเชิงประจักษ์ขนาดใหญ่. ในอดีตองค์ประกอบเชิงประจักษ์นี้ได้มาจากการทดสอบแบบจำลองและต้นแบบที่มีขนาดเป็นสเกลทั้งในอุโมงค์ลมหรือในบรรยากาศเปิด. เมื่อเร็ว ๆ นี้ล่าสุด ความก้าวหน้าหลายอย่างในการใช้คอมพิวเตอร์ได้เปิดใช้งานการใช้พลศาสตร์ของไหลด้วยระบบคอมพิวเตอร์เพื่อจำลองพฤติกรรมของของเหลว, ลดเวลาและค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการทดสอบในอุโมงค์ลม. ผู้ที่ศึกษาด้าน hydrodynamics หรือ Hydroacoustics มักจะได้รับปริญญาด้านวิศวกรรมการบินและอวกาศ

นอกจากนี้ วิศวกรรมการบินและอวกาศจะพูดถีงการบูรณาการองค์ประกอบทั้งหมดที่สร้างขึ้นเป็นยานพาหนะการบินและอวกาศ (ระบบย่อยรวมทั้งพลังงาน, แบริ่ง, การสื่อสาร, การควบคุมอุณหภูมิ, การสนับสนุนการดำรงชีวิต, ฯลฯ) และวงจรชีวิตของมัน (การออกแบบ, อุณหภูมิ, ความดัน, การแผ่รังสี, ความเร็ว, อายุการใช้งาน).

วิศวกรรมการบินและอวกาศอาจจะเรียนในระดับอนุปริญญาขั้นสูง, ปริญญาตรี, ปริญญาโท, และปริญญาเอกในแผนกวิศวกรรมการบินและอวกาศที่มหาวิทยาลัยจำนวนมากและในแผนกวิศวกรรมเครื่องกลที่อื่น ๆ. มีไม่กี่แผนกที่ประสาทปริญญาในวิศวกรรมอวกาศที่มุ่งเน้นด้านอวกาศอย่างเดียว. บางสถาบันแบ่งแยกให้เห็นความแตกต่างระหว่างวิศวกรรมการบินและวิศวกรรมอวกาศ.

ในประเทศไทยยังถือว่าเป็นสาขาที่ใหม่ และยังไม่เติบโตเต็มที่เหมือนกับวิศวกรรมศาสตร์สาขาอื่น ๆ เช่น วิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมไฟฟ้า, วิศวกรรมเครื่องกล, วิศวกรรมอุตสาหการ, หรือ วิศวกรรมเคมี.

คำว่า "นักวิทยาศาสตร์จรวด" บางครั้งถูกใช้เพื่ออธิบายถึงคนที่มีความเฉลียวฉลาดอย่างมากเนื่องจาก "วิทยาศาสตร์จรวด" ถูกมองว่าเป็นการปฏิบัติอย่างหนึ่งที่ต้องใช้กำลังใจที่ยิ่งใหญ่, โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถทางเทคนิคและทางคณิตศาสตร์.

คำนี้มักถูกนำมาใช้เพื่อล้อเลียนเช่นในสำนวนที่ว่า "มันไม่ได้เป็นวิทยาศาสตร์จรวดสักหน่อย" เพื่อแสดงให้เห็นว่างานที่กำลังพูดถึงเป็นเรื่องง่าย.

ถ้าพูดอย่างเคร่งครัด, การใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" ใน "วิทยาศาสตร์จรวด" เป็นการเรียกชื่อที่ผิดเนื่องจากวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับการทำความเข้าใจในต้นกำเนิด, ธรรมชาติ, และพฤติกรรมของจักรวาล. วิศวกรรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับการใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมในการแก้ปัญหาและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ. อย่างไรก็ตาม สื่อและสาธารณะมักจะใช้ "วิทยาศาสตร์" และ "วิศวกรรม"อย่างไม่ถูกต้อง โดยคิดว่ามันเป็นคำพ้อง.


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301