ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

วัฒนธรรมบรรษัท

วัฒนธรรมบริษัท หรือ วัฒนธรรมองค์การ (อังกฤษ: Organizational culture) ประกอบด้วยทัศนคติ ประสบการณ์ ความเชื่อและคุณค่าขององค์การใดองค์การหนึ่ง มีการนิยามไว้ว่าเป็น "การรวบรวมเป็นการเฉพาะเกี่ยวกับคุณค่า บรรทัดฐานที่คนหรือกลุ่มคนมีร่วมกันในองค์การเป็นเป็นตัวควบคุมวิธีการปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและกับผู้มีส่วนได้เสียนอกองค์การ เชื่อว่าคุณค่าขององค์การเป็นความเชื่อและเป็นความคิดว่าด้วยเป้าหมายที่สมาชิกขององค์การควรไฝ่หาและเป็นความคิดเกี่ยวกับชนิดที่เหมาะของมาตรฐานพฤติกรรมที่สมาชิกขององค์การพึงใช้เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย คุณค่าขององค์การจะพัฒนาเป็นบรรทัดฐานขององค์การ แนวทางหรือความคาดหวังที่ทำให้เกิดชนิดของพฤติกรรมที่เหมาะสมโดยลูกจ้าง โดยเฉพาะสำหรับสถานการณ์และการควบคุมพฤติกรรมระหว่างสมาชิกองค์การด้วยกันเอง""

ผู้บริหารระดับสูงอาจพยายามกำหนดวัฒนธรรมขององค์การ อาจต้องการที่จะใช้บังคับคุณค่าและมาตรฐานพฤติกรรมขององค์การที่สะท้อนถึงวัตถุประสงค์ขององค์การ นอกจากนี้ ยังอาจมีวัฒนธรรมองค์การที่มีอยู่เดิมแล้วภายในองค์การนั้น กลุ่มทำงานภายในองค์การจะมีพฤติกรรมและปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันที่เป็นลูกเล่นของตนเองอยู่แล้วซึ่งมีผลกระทบต่อองค์การโดยรวม วัฒนธรรมการทำงานอาจนำจากภายนอกมาใช้ได้ เช่น นักเทคนิคคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความช่ำชอง ภาษาและพฤติกรรมที่ได้มาอย่างเป็นอิสระจากองค์การอื่น ซึ่งการมาของพวกเขาเหล่านี้สามารถมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมขององค์การโดยรวมได้

กล่าวกันว่าวัฒนธรรมที่แข็งจะมีได้ก็ต่อเมื่อพนักงานตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพราะพวกเขาวางตัวเองให้เข้ากับค่านิยมขององค์การอยู่แล้ว

ในทางตรงข้ามก็ยังมีวัฒนธรรมอ่อน ที่วางตัวเองให้เข้ากับคุณค่าและการควบคุมองค์การไม่มาก ซึ่งในกรณีนี้จะมีการใช้มาตรการและระบบของอำมาตยาธิปไตยเป็นอย่างมาก

ในที่ที่มีวันธรรมแข็ง พนักงานจะคิดเพราะเชื่อว่าเป็นสิ่งถูกต้องที่ตนพึงกระทำ -ซึ่งนับว่ามีความเสี่ยงสำหรับในอีกปรากฏการณ์หนึ่งที่เรียกว่า "กลุ่มคิด" (Groupthink) กล่าวถึงโดย เออร์วิง แอล จานิส ซึ่งให้นิยามไว้ว่า "...หนทางที่เร็วและง่ายในการเอ่ยถึงแนวฐานนิยมของความคิดที่ผู้คนเกี่ยวข้องอยู่ โดยเมื่อพวกเขาเกี่ยวข้องอย่างลึกเพื่อการเกาะกลุ่มที่เหนียวแน่นเมื่อกลุ่มพยายามฝ่าฟันร่วมกันเพื่อให้ได้มาซึ่งความเป็นเอกฉันท์ที่จะเอาชนะความพยายามที่จะมีการประเมินทางเลือกเพื่อใช้การปฏิบัติที่เป็นจริง" นี่คือระยะห่างที่ผู้คนที่แม้จะมีความคิดต่างกันก็จะไม่ยอมท้าทายความคิดขององค์การ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ เช่น เมื่อต้องมีการพึ่งพาเป็นอย่างมากต่ออำนาจบารมีของบุคคลในองค์การ หรือเมื่อมีความเชื่อทางศาสนาในระบบคุณค่าขององค์การ หรือเมื่อภายในกลุ่มที่มีบรรยากาศความเป็นเพื่อนเป็นพื้นฐานของเอกลักษณ์ (การหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง) ความจริงแล้ว "กลุ่มคิด" มีอยู่ทั่วไปเป็นปกติ ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาในเกือบจะทุกกลุ่ม สมาชิกที่กล้าขัดขืนมักถูกปฏิเสธไม่เป็นที่ยอมรับ หรือถูกมองเป็นเสมือนอิทธิพลทางลบของกลุ่มเพราะเป็นตัวสร้างความขัดแย้ง

องค์การที่มีนวัตกรรมต้องการปัจเจกบุคคลผู้มีความพร้อมที่จะท้าทายกับสถานะที่เป็นอยู่อย่างเดิม ทำนองนิ่งเสียตำลึงทอง ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มคิดหรือเป็นกลุ่มอำมาตยาธิปไตย นอกจากนี้องค์การยังต้องการเป็นอย่างมากในกระบวนการที่จะนำไปปฏิบัติเพื่อให้ความคิดใหม่ๆ เป็นจริงขึ้นมาได้

กีร์ท ฮอฟสตีด (Geert Hofstede) ได้แสดงให้เห็นว่ามีกลุ่มวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับภาคที่มีผลต่อวัฒนธรรมขององค์การ ฮอฟสตีดได้ระบุมิติ 5 ประการของวัฒนธธรมดังกล่าวไว้ในการศึกษาว่าด้วยอิทธิพลของชาติดังนี้

ดีลและเคเนดี (Deal and Kennedy) ให้นิยามวัฒนธรรมองค์การไว้ว่าเป็น วิธีที่ทำให้งานแล้วเสร็จ ณ ตรงนี้ ทั้งสองคนได้วัดองค์การในแง่ของ:

ชาลส์ แฮนดี (Charles Handy) เป็นผู้ทำให้วิธีการมองวัฒนธรรมที่นักวิชาการบางคนเคยใช้โยงถึงโครงสร้างองค์การกับวัฒนธรรมองค์การ

เอดกา ชีน (Edgar Schein), ศาสตราจารย์ของคณะการจัดการสโลนของสถาบันเทคโนโลยีแมสสาชูเสตส์ (MIT Sloan School of Management) ได้นิยามวัฒนธรรมองค์การไว้ว่าเป็น "สิ่งตกค้างแห่งความสำเร็จ" ภายในองค์การ ชีนเห็นว่าวัฒนธรรมเป็นลักษณะประจำขององค์การที่ยากที่สุดเปลี่ยนแปลง เป็นผลิตภัณฑ์ บริการ มีความเป็นผู้ก่อตั้งและผู้นำและลักษณะประจำอื่นๆ ขององค์การที่คงทนสุด แบบจำลององค์การของชีนจุดประกายการมองวัฒนธรรมในมุมมองของผู้สังเกตการณ์ ที่อธิบายระดับของปริชานของวัฒนธรรมองค์การออกเป็น 3 ระดับ...

อาร์เทอร์ เอฟ คาร์มาซซี (Arthur F Carmazzi) กล่าวว่าวัฒนธรรมองค์การที่เป็นพลวัตคือกระบวนการ "วิวัฒนาการ" ที่สามารถเปลี่ยนและวิวัฒนาการไปด้วยจิตวิทยาแห่งผู้นำที่เหมาะสม

จี จอห์สัน (G. Johnson) ได้กลาวถึงโครงข่ายของวัฒนธรรม ได้บ่งชี้จำนวนองค์ประกอบที่สามารถนำมาใช้พรรณาถึงหรือที่มีอิทธิพลต่อองค์การไว้ดังนี้

สตีเฟน แมกไกวร์ (Stephen McGuire) ได้ให้นิยามและทำให้สมบูรณ์แบบจำลองของวัฒนธรรมผู้ประกอบการไว้ว่าเป็นหนทางที่พยากรณ์ได้จากแหล่งใหม่ๆ องค์การวัฒนธรรมผู้ประกอบการคือระบบการแบ่งปันค่านิยม ความเชื่อและปทัสถานของสมาชิกองค์การรวมทั้งการให้คุณค่าแก่ความคิดสร้างสรรค์และความมีใจกว้างอดทนต่อคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้เชื่อในนวัตกรรมการการฉวยโอกาสทางการตลาดว่าเป็นพฤติกรรมที่เหมาะสมสำหรับการจัดการกับปัญหาการอยู่รอดและความรุ่งเรือง ความไม่แน่นอนด้านสิ่งแวดล้อมและการคุกคามของคู่แข่งและคาดหวังว่าสมาชิกขององค์การจะปฏิบัติตามนั้น

นักเขียนหลายคนที่เขียนเกี่ยวกับการศึกษาวิกฤติการจัดการ Critical management studies ได้แสดงความกังขาเกี่ยวกับมุมมอง "นักหน้าที่นิยม" (functionalist) กับ "นักเดี่ยวนิยม" (unitarist) ที่มีต่อวัฒนธธรมที่ยกขึ้นมาโดยนักคิดด้านการจัดการสายหลัก....ปาร์เกอร์ ได้แนะว่า...

ทั้งๆ ที่พยานหลักฐานได้บ่งชี้ว่าศักยภาพของความมีประโยชน์ บรรยากาศขององค์การไม่ได้รมีการการนำไปใช้อย่างเต็มที่เพื่อความปลอดภัย สุขภาพและการเป็นดัชนีของสมรรถนะทางสิ่งแวดล้อมและในฐานะที่เป็นเครื่อช่วยวางลำดับความเสี่ยง ดอดสเวิร์ทและคณะ. เป็นกลุ่มวิจัยคณะแรกที่ประสบความสำเร็จในการใช้เทคนิคแบบจำลอง PLS เพื่อหาสหสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับสมรรถนะด้านความปลอดภัยขององค์การ ข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยนี้อาจเข้าดูได้จากลิงก์ต่อไปนี้ Dodsworth's Homepage เก็บถาวร 2007-12-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ...


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

โดมทองแห่งเยรุซาเล็ม โบสถ์โนเตรอะดาม เซนต์โทมัส อาควีนัส ทัศนศิลป์ ลิแวนต์ อัลจีเรีย อ๊อตโตมาน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ฮอลแลนด์ สะฮารา ทัศนคติ สุนทรียภาพ ประสาท วัฒนธรรมบรรษัท นักสังคมวิทยา กลุ่มวัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมย่อย นักวิทยาศาสตร์สังคม เอ็ดการ์ เดอกาส วัฒนธรรมมวลชน มานุษยวิทยาสังคม มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาสังคม นักโบราณคดี วานรวิทยา ประเพณี นักมานุษยวิทยา วัฒนธรรมนิยม วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมระดับสูง สินค้าบริโภค คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โครงสร้างนามธรรม ประวัติปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันตก ลัทธิสโตอิก ม่อจื่อ จวงจื่อ มีมางสา โยคะ สางขยะ ไวเศษิกะ นยายะ มัธยมกะ โยคาจาร เสาตรานติกะ จารวาก คัมภีร์พระเวท สารัตถะ ความเป็นจริง ปรัชญาตะวันออก สุนทรียศาสตร์ จริยศาสตร์ ความงาม คุณธรรม คุณวิทยา อรรฆวิทยา หนูผี พันเจีย สนามแม่เหล็ก เขตกึ่งร้อน ดาวเคราะห์คล้ายโลก บาป (ศาสนาคริสต์) คริสตชน จดหมายถึงชาวฮีบรู ศรัทธาในศาสนาพุทธ การอนุมาน สัมพัทธภาพทางความรู้ การจัดการความรู้ ทุนทางสังคม การลองผิดลองถูก ประสบการณ์ การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ ญาณวิทยา ความเข้าใจ อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24022