ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ลัทธิอนุตตรธรรม

ลัทธิอนุตตรธรรม (จีน: ??? Y?gu?n D?o อีก้วนเต้า) ในประเทศไทยเรียกว่า วิถีอนุตตรธรรม เป็นศาสนาที่หวัง เจฺว๋อี ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงเมื่อปี ค.ศ. 1877 คำสอนเป็นการผสานความเชื่อระหว่างลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า และศาสนาพุทธแบบจีน ทั้งยังยอมรับขนบที่มาจากต่างประเทศ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามด้วย

ลัทธิอนุตตรธรรมเกิดขึ้นและแพร่หลายที่จีนแผ่นดินใหญ่ ต่อมาเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ ลัทธิอนุตตรธรรมถูกรัฐบาลกวาดล้างอย่างหนัก จึงย้ายไปเผยแผ่ที่ประเทศไต้หวันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1946 ในปัจจุบันถือเป็นศาสนาที่มีศาสนิกชนมากที่สุดเป็นอันดับสามในไต้หวัน (รองจากศาสนาพุทธและศาสนาเต๋า) ในประเทศจีนลัทธินี้ยังไม่ได้รับการยอมรับ ส่วนไต้หวันได้รับรองในปี ค.ศ. 1987

แม้ผู้นับถือลัทธิอนุตตรธรรมจะเชื่อว่าธรรมะของตนสืบมาจากศาสนาพุทธนิกายเซน แต่ในทางวิชาการประวัติศาสตร์ถือว่าลัทธิอนุตตรธรรมแยกตัวมาจากลัทธิเซียนเทียนเต้า ซึ่งลัทธิเซียนเทียนเต้าสืบคำสอนมาจากลัทธิบัวขาวและลัทธิหลัว

ลัทธิบัวขาวเกิดขึ้นสมัยราชวงศ์หยวน ต่อมาถูกทางการกล่าวหาว่าบ่อนทำลายความมั่นคงของรัฐ จึงถูกกวาดล้างอย่างหนักจนต้องปฏิบัติการเป็นองค์กรใต้ดิน ต่อมาหวง เต๋อฮุย ได้ตั้งลัทธิเซียนเทียนเต้าโดยผสานความเชื่อของลัทธิบัวขาวกับลัทธิหลัวเข้าด้วยกัน และประกาศตนเป็นธรรมาจารย์รุ่นที่ 9 โดยสืบมาจากนิกายเซน เน้นวัตรปฏิบัติเน้นเรื่องการกินเจ การถือพรต

ต่อมาหวัง เจฺว๋อี สาวกลัทธิเซียนเทียนเต้า ได้แยกออกไปตั้งสำนักใหม่ที่เมืองชิงโจวบ้านเกิดของตน ชื่อสำนักตงเจิ้น (จีน: ???) ปี ค.ศ. 1877 หวัง เจว๋อีอ้างว่าได้รับอาณัติแห่งสวรรค์จากพระแม่องค์ธรรมแต่งตั้งให้เป็นธรรมาจารย์รุ่นที่ 15 เขาเน้นคำสอนของลัทธิขงจื๊อเป็นหลัก สำนักของหวังเริ่มเป็นที่แพร่หลาย ทำให้ทางการราชวงศ์ชิงระแวงว่าจะก่อกบฏ จึงดำเนินการปราบปรามสำนักนี้อย่างหนัก เมื่อหวัง เจว๋อี ถึงแก่กรรมแล้ว หลิว ชิงซฺวีศิษย์ของเขาได้ปกครองสำนักต่อแทน เพื่อหลีกเลี่ยงการปราบปรามทางการ เขาจึงเปลี่ยนชื่อสำนักเป็นอีก้วนเต้า ในปี ค.ศ. 1882 (ในประเทศไทยเรียกว่าวิถีอนุตตรธรรม)

ตำแหน่งธรรมาจารย์ได้สืบทอดมาจนถึงสมัยของจาง เทียนหรัน ธรรมาจารย์รุ่นที่ 18 เขาได้ย้ายศูนย์กลางของลัทธิไปที่เมืองเทียนจินในปี ค.ศ. 1935 เมื่อญี่ปุ่นเข้ารุกรานจีน สาวกหลายคนของลัทธิได้เข้าสนับสนุนญี่ปุ่น จึงทำให้ลัทธินี้รุ่งเรืองมากขึ้นในพื้นที่ที่ญี่ปุ่นยึดครอง กองทัพจีนของพรรคก๊กมินตั๋งและพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งร่วมกันต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น จึงปราบปรามลัทธิอนุตตรธรรมด้วย จางเปลี่ยนชื่อลัทธิกลับไปเป็น "เทียนเต้า" เมื่อปี ค.ศ. 1940 และได้ใช้ทั้งสองชื่อสืบมาจนปัจจุบัน เมื่อเทียนหรันถึงแก่กรรมแล้วซุน ฮุ่ยหมิง ธรรมาจารย์รุ่นที่ 18 อีกคนหนึ่งก็ปกครองสำนักต่อมา แต่ลัทธิยังคงถูกปราบปรามอย่างหนักจากรัฐบาลคอมมิวนิสต์ โดยเฉพาะตั้งแต่ปี ค.ศ. 1951 ส่งผลให้ลัทธิอนุตตรธรรมหมดไปจากประเทศจีนโดยสิ้นเชิงในปลายทศวรรษนั้น ลัทธิอนุตตรธรรมจึงต้องย้ายไปเผยแผ่ที่ประเทศไต้หวัน ต่อมาจึงแพร่หลายในชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศต่าง ๆ และประชาชนพื้นเมืองในประเทศนั้นจนปัจจุบัน

ลัทธิอนุตตรธรรมนับถือสิ่งศักดิ์หลายองค์โดยมีพระเป็นเจ้าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด สิ่งศักดิ์สิทธิ์สำคัญตามความเชื่อของลัทธิอนุตตรธรรมได้แก่

ลัทธิอนุตตรธรรมเชื่อว่า อนุตตรธรรม คือ สิ่งวิเศษสุด 3 อย่าง เรียกว่า ไตรรัตน์ ซึ่งไม่ใช่พระรัตนตรัยในพระพุทธศาสนา แต่หมายถึง

ไตรรัตน์ข้างต้นนี้จะเปิดเผยได้โดยผู้ที่ได้รับอาณัติสวรรค์จากพระแม่องค์ธรรมเท่านั้น และจะถ่ายทอดให้เฉพาะบุคคลที่รับอนุตตรธรรมในพิธีถ่ายทอดเบิกธรรม (จีน: ???? ปั้นเต้าหลี่เจี๋ย) ซึ่งจะดำเนินพิธีเป็นความลับ ไม่เปิดเผยให้คนนอกรับรู้ ผู้ที่รู้แล้วจะห้ามนำไปเปิดเผยต่อ เพราะเชื่อว่าจะถูกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ลงโทษ

พระธรรมาจารย์ในพงศาธรรมของลัทธิอนุตตรธรรม มีด้วยกันทั้งหมด 64 รุ่น ซึ่งสอดคล้องกับอัฏฐลักษณ์ (ปากั้ว) ที่พระเจ้าฝูซีได้ทำกำหนดไว้ และพระเจ้าโจวเหวินได้ค้นพบ

ผู้นับถืออนุตรธรรมเชื่อว่าวิถีอนุตตรธรรมสืบสายชีพจรธรรมมาจากสามศาสนาหลัก คือศาสนาพุทธ ศาสนาขงจื๊อ และศาสนาเต๋า มีการสืบสายบรรพจารย์ตั้งแต่พระอริยเจ้าฝูซี ท่านเสินหนง พระเจ้าเหยา พระเจ้าซุ่น เล่าจื๊อ ขงจื๊อ เม่งจื๊อ ตลอดจนพระมหากัสสปะ พระโพธิธรรม ฮุ่ยเหนิง ซึ่งเป็นสังฆปรินายกของนิกายเซน อย่างไรก็ตามความเชื่อเหล่านี้ไม่ได้สอดคล้องกับพระไตรปิฎกในพระพุทธศาสนา

ลัทธิอนุตตรธรรมได้แบ่งพงศาธรรมออกเป็นสามยุคตามความเชื่อที่มีมาตั้งแต่ลัทธิบัวขาว ดังนี้

สิ้นสุดการสืบทอดวิถีธรรมในแผ่นดินจีน ธรรมะแอบแฝงซ่อนเร้นในประเทศจีน เริ่มต้นยุคแดงในประเทศอินเดีย

ในอินเดีย 28 รุ่น ก่อน พ.ศ. 45 ปี ลัทธิอนุตตรธรรมนำแนวคิดนี้มาจากสายสังฆปริณายกในนิกายเซน สังฆปริณายกนิกายเซนในอินเดียทั้ง 28 รุ่น มีดังนี้

สิ้นสุดการสืบทอดวิถีธรรมในประเทศอินเดีย การสืบทอดพงศาธรรมกลับสู่แผ่นดินจีนอีกครั้ง พระโพธิธรรม (ตั๊กม้อ) เดินทางสู่แผ่นดินจีนเพื่อสืบทอดพงศาธรรม

ธรรมะกลับสู่แผ่นดินจีน 16 รุ่น พ.ศ. 1050 พระภิกษุ 6 รุ่น ฆราวาส 10 รุ่น ลัทธิอนุตตรธรรมผสมสายสังฆปริณายกของนิกายเซนในประเทศจีนกับสายธรรมาจารย์ของลัทธิเซียนเทียนเต้า ดังนี้

สิ้นสุดการสืบทอดธรรมะในยุคแดง เกณฑ์วาระแห่งธรรมได้เข้าสู่ธรรมกาลยุคขาว วิถีธรรมเริ่มต้นปรกโปรดอย่างกว้างขวาง

ธรรมกาลยุคขาว ธรรมะถ่ายทอดสู่สามัญชนทั่วไป (พระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจ้าปกครองธรรมกาล) ยุคขาว ตะวันออก สุดท้าย ทั่วโลก 2 รุ่น พ.ศ. 2473 เป็นต้นมา เป็นการปรกโปรด 3 โลกครั้งยิ่งใหญ่ 63. พระบรรพจารย์ลู่ จงอี 64. พระบรรพจารย์จาง เทียนหรัน และบรรพจารย์ซุน ฮุ่ยหมิง

แม้ว่าลัทธิอนุตตรธรรมจะนำหลักธรรมและความเชื่อหลายอย่างมาจากศาสนาพุทธ แต่ทั้งสองก็ยังมีความเชื่อต่างกันหลายประการ เช่น


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406