ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ภาษาไทใหญ่

ภาษาไทใหญ่ หรือ ภาษาฉาน (ไทใหญ่:  ???????? (วิธีใช้?ข้อมูล) [ลิ่กไต๊],  ????????? (วิธีใช้?ข้อมูล) ความไท [กว๊ามไต๊], /kw??m.t?j/; อังกฤษ: Shan language) เป็นภาษาตระกูลไท-กะได ใช้พูดในภาคเหนือของประเทศพม่า ประเทศไทย และทางตอนใต้ของประเทศจีน มีเสียงวรรณยุกต์ 5 เสียง ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนผู้พูดที่แน่นอน เนื่องจากสงครามระหว่างพม่ากับไทใหญ่ ทำให้การเข้าไปศึกษาเกี่ยวกับชาวไทใหญ่ทำได้ยาก คาดว่ามีผู้พูดราว 4-30 ล้านคน มีอักษรเป็นของตนเอง 2 ชนิดคือ อักษรไทใหญ่ ใช้ในพม่า และอักษรไทใต้คง ใช้ในจีน

แม้ว่าจะมีคำกล่าวว่า "อย่ากิ๋นอย่างม่าน อย่าตานอย่างไต" ซึ่งเปรียบเทียบวิถีชีวิตของชาวพม่าที่ให้ความสำคัญกับการกินอยู่ ซึ่งแตกต่างจากชาวไทใหญ่ที่ให้ความสำคัญแก่การทำบุญ ถึงกระนั้นไทใหญ่ก็รับวัฒนธรรม ศาสนา ตลอดจนถึงคำในภาษาพม่าเข้ามามาก จนคำไทใหญ่หลายถิ่นเป็นกวามไตลอแล คือไทใหญ่พูดคำพม่าปนไปหมด เช่นที่เมืองสีป้อและเมืองยางเป็นต้น

ภาษาไทใหญ่มีสำเนียงแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น เช่น ฉานเหนือ ฉานใต้ เชียงตุง และพรมแดนติดกับจีนเรียกว่า ไทเหนือ โดยภาษาเมืองหนอง ถือเป็นภาษาไทหลวง สำเนียงของฉานเหนือ และฉานใต้จะแตกต่างโดยชัดเจน ส่วนที่เชียงตุงชนส่วนใหญ่มีเชื้อสายไทเขิน โดยมีส่วนต่างกับภาษาไทใหญ่อื่น ๆ มาก และมีศัพท์เฉพาะค่อนข้างมาก และเสียง ร ไม่เป็น ฮ ไปทั้งหมด โดยเชียงตุงกับมืองไหยจะมีสุภาษิตคล้ายคลึงกันมากเลยทีเดียว

เสียงสัทอักษรพยัญชนะในภาษาไทใหญ่ (เสียงแปร) มีอยู่ด้วยกัน 19 เสียง ไม่เหมือนภาษาไทยและลาวเพราะไม่มีเสียงกักโฆษะ [d] และ [b]**

ในภาษาไทใหญ่มีการควบกล้ำอยู่ 3 เสียง /j/ /r/ /w/ โดยจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปของพยัญชนะที่นำมาควบด้วย เป็น ? , ? , ? ตามลำดับ อนึ่ง คำที่ควบด้วยเสียง /r/ บางครั้งจะไม่ออกเสียงควบกันสนิท โดยจะออกเสียงในลักษณะสระอะกึ่งเสียง สำหรับเสียง /k/ , /k?/ และ /s/ เมื่อมีการควบของเสียงร่วมกับเสียง /j/ เสียงที่เกิดขึ้นมักจะใกล้เคียงกับเสียง /c/ , /c?/ และ /?/ ตามลำดับตัวอย่างคำ

โดยมากแล้วทั้งสองภาษามักมีเสียงวรรณยุกต์ที่คล้ายกันยกเว้นบางที่ ที่คล้ายได้แก่ เสียงเอกในคำเป็นของทั้งสองมักตรงกัน เช่น ป่า, อย่า, อยู่, ผ่า เป็นต้น เสียงจัตวาในคำเป็นที่ขึ้นต้นด้วยอักษรสูงมักตรงกัน เช่น ขา, หมา, หนา, ผา, หลัง เป็นต้น เสียงที่ไม่เหมือนได้แก่ เสียงสามัญไทยในคำที่ขึ้นต้นด้วยอักษรกลางมักตรงกับเสียงจัตวาไทใหญ่ เช่น กา เป็น ก๋า, ปลา เป็น ป๋า, ตา เป็น ต๋า, และ อา เป็น อ๋า เป็นต้น เสียงสามัญไทยในคำที่ขึ้นต้นด้วยอักษรต่ำมักตรงกับเสียงตรีไทใหญ่ เช่น นา เป็น น้า, ทา เป็น ต๊า, ลา เป็น ล้า เป็นต้น เสียงโทไทยมักตรงกับเสียงสามัญไทใหญ่ เช่น เจ้า เป็น เจา, ข้า เป็น คา, หน้า เป็น นา, และ ผ้า เป็น พา เป็นต้น เสียงตรีไทยมักตรงกับเสียงโทสั้นไทใหญ่ เช่น น้ำ เป็น น่ำ, ช้าง เป็น จ้าง, ม้า เป็น ม่า, น้า เป็น น่า เป็นต้น

นอกจากการแตกต่างระหว่างเสียงวรรณยุกต์แล้ว ทั้งสองมีความแตกต่างเล็กน้อยทางเสียงพยัญชนะขึ้นต้นด้วย คำในภาษาไทยที่ขึ้นต้นด้วยอักษรต่ำเสียงกักธยิตมักตรงกับเสียงกักสิถิลในไทใหญ่ เช่น พยัญชนะ พ, ท, และ ค ในไทยมักตรงกับเสียง ป, ต, และ ก ในไทใหญ่ แต่คำในภาษาไทยที่ขึ้นต้นด้วยอักษรต่ำเสียงกักธยิตที่ตรงกับเสียงโฆษะบาลีมักตรงกับเสียงกักธนิตในไทใหญ่ เช่น พยัญชนะ ภ, ธ, และ ฆ ในไทยมักตรงกับเสียง พ, ท, และ ค นอกจากนี้ คำในภาษาไทยที่ขึ้นต้นด้วยอักษรต่ำเสียงกักธยิตที่ตามด้วย ร มักตรงกับเสียงกักธนิตในไทใหญ่ เช่น พยัญชนะ ปร, ทร, และ คร ในไทยมักตรงกับเสียง พ, ท, และ ค ในไทใหญ่

นอกจากนี้แล้ว มีเสียงพยัญชนะบางเสียงในไทใหญ่ที่ไม่ตรงกับไทย พยัญชนะ ด กับ บ ของไทยมักตรงกับเสียง หล กับ หม ในไทใหญ่ เช่น ดิน เป็น หลิน, ดี เป็น หลี, เดือน เป็น เหลิน, บ่า เป็น หม่า, บ้า เป็น มา (หม้า), และ บ่าว เป็น หม่าว เป็นต้น พยัญชนะ ร ของไทยมักตรงกับเสียง ฮ ไทใหญ่ เช่น เรา เป็น เฮ้า, ร่าง เป็น ฮาง, และ รัก เป็น ฮั่ก เป็นต้น

ภาษาไทใหญ่ เป็นภาษาที่ไม่มีการผันคำไปตามกาล เพศ การก ฯลฯ เช่นเดียวกับภาษาไทย รูปแบบประโยคเป็นแบบ ประธาน-กริยา-กรรม คำคุณศัพท์จะมีการวางไว้หลังคำนาม

การบอกเวลาในภาษาไทใหญ่ก็คล้ายๆกับในภาษาไทย เช่น " ????????????? 3 ?????????" - ตอนนี้ 3 โมงแล้ว


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

โดมทองแห่งเยรุซาเล็ม โบสถ์โนเตรอะดาม เซนต์โทมัส อาควีนัส ทัศนศิลป์ ลิแวนต์ อัลจีเรีย อ๊อตโตมาน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ฮอลแลนด์ สะฮารา ทัศนคติ สุนทรียภาพ ประสาท วัฒนธรรมบรรษัท นักสังคมวิทยา กลุ่มวัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมย่อย นักวิทยาศาสตร์สังคม เอ็ดการ์ เดอกาส วัฒนธรรมมวลชน มานุษยวิทยาสังคม มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาสังคม นักโบราณคดี วานรวิทยา ประเพณี นักมานุษยวิทยา วัฒนธรรมนิยม วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมระดับสูง สินค้าบริโภค คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โครงสร้างนามธรรม ประวัติปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันตก ลัทธิสโตอิก ม่อจื่อ จวงจื่อ มีมางสา โยคะ สางขยะ ไวเศษิกะ นยายะ มัธยมกะ โยคาจาร เสาตรานติกะ จารวาก คัมภีร์พระเวท สารัตถะ ความเป็นจริง ปรัชญาตะวันออก สุนทรียศาสตร์ จริยศาสตร์ ความงาม คุณธรรม คุณวิทยา อรรฆวิทยา หนูผี พันเจีย สนามแม่เหล็ก เขตกึ่งร้อน ดาวเคราะห์คล้ายโลก บาป (ศาสนาคริสต์) คริสตชน จดหมายถึงชาวฮีบรู ศรัทธาในศาสนาพุทธ การอนุมาน สัมพัทธภาพทางความรู้ การจัดการความรู้ ทุนทางสังคม การลองผิดลองถูก ประสบการณ์ การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ ญาณวิทยา ความเข้าใจ อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24022