ค้นหา
  
1280 720
Search Engine Optimization Services (SEO)

ภาษาโภชปุรี

ภาษาโภชปุรีเป็นภาษาที่พูดกันแพร่หลายทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย คือทางตะวันตกของรัฐพิหาร ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐฌารขัณฑ์ และบริเวณปุรวัณฉัลของอุตรประเทศรวมถึงทางใต้ของเนปาล ภาษาโภชปุรีมีผู้พูดในกายอานา ซูรินาม ฟิจิ ทรินิแดดฯ และมอริเชียสด้วย ภาษานี้ถือว่าไม่ใช่ภาษาถิ่นของภาษาฮินดี เตรียมจะรับรองสถานะเป็นภาษาประจำชาติอีกภาษาหนึ่ง

ภาษาโภชปุรีมีคำศัพท์คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดี ภาษาอูรดู และภาษาตระกูลอินโด-อารยันอื่นๆในภาคเหนือของอินเดีย ภาษาโภชปุรีและภาษาใกล้เคียงได้แก่ ภาษาไมถิลีและภาษามคธีเป็นที่รู้จักโดยรวมว่าภาษาพิหาร ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันตะวันออกเช่นเดียวกับภาษาเบงกาลีและภาษาโอริยา ภาษาถิ่นของภาษาโภชปุรีมีราว 3-4 ภาษาในภาคตะวันออกของรัฐอุตรประเทศ

จากข้อมูลที่เผยแพร่ในวารสาร Times of India ประมาณว่ามีประชากร 70 ล้านคนในรัฐอุตรประเทศ และมากกว่า 80 ล้านคนในรัฐพิหาร ที่พูดภาษาโภชปุรีเป็นภาษาแม่หรือภาษาที่สอง มีผู้พูดภาษานี้ราว 6 ล้านคนที่อยู่นอกบริเวณที่มีผู้พูดภาษานี้เป็นหลักในรัฐพิหารและปุรวันจัล ได้แก่ ในเนปาล มอริเชียส ฟิจิ ซูรินาม กายอานา อูกันดา สิงคโปร์ ตรินิแดดและโตเบโก เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีน สหราชอาณาจักรและสหรัฐ ซึ่งทำให้มีผู้พูดภาษาโภชปุรีทั่วโลกราว 150 ล้านคน การแพร่กระจายของผู้พูดภาษานี้เกิดจากการส่งแรงงานอินเดียไปเป็นแรงงานในต่างแดน ในสมัยที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ

ภาษาโภชปุรีได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นๆมาก ภาษาโภชปุรีในมอริเชียสมีศัพท์ลูกผสมและศัพท์จากภาษาอังกฤษมาก ในขณะที่ผู้พูดในตรินิแดดมีศัพท์จากภาษาในแคริบเบียนปะปนควบคู่ไปกับภาษาอังกฤษ

ในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาโภชปุรีมีผู้เกี่ยวข้องกับการสร้างชาติอินเดียและได้รับเอกราชอยู่มากเช่นประธานาธิบดีคนแรก ดร. ราเชนทรา ประสาท ตามด้วยนักการเมืองและนักสิทธิมนุษยชน ดร. กฤษณะ เทพ อุปัธยยา

ภาษาโภชปุรีเป็นหนึ่งในพื้นฐานของการพัฒนาภาษาราชการของอินเดียหลังได้รับเอกราชคือภาษาฮินดี ในศตวรรษที่ผ่านมา ภารเตนฑุ หริสจันทรา ผู้เป็นบิดาของภาษาฮินดีที่เป็นภาษาเขียนได้รับอิทธิพลจากน้ำเสียงและรูปแบบของภาษาโภชปุรีในบริเวณที่เป็นบ้านเกิดของเขา การพัฒนาต่อมาของภาษาฮินดีเกิดขึ้นโดยผู้ที่มีบ้านเกิดในเขตที่มีผู้พูดภาษาโภชปุรีอีกหลายคน

วรรณคดีภาษาโภชปุรีส่วนใหญ่อยู่ในรูปเพลงและดนตรีพื้นบ้าน และกวีนิพนธ์ วรรณคดีที่เป็นภาษาเขียนเริ่มต้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 17 ในระหว่างที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ภาษาโภชปุรีเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาของจังหวัดชายแดนภาคเหนือ หลังจากได้รับเอกราช ภาษาโภชปุรีได้มีการปรับเปลี่ยนน้ำเสียงและปรับเปลี่ยนไปตามวิถีชีวิตของชุมชน

การเขียนภาษาโภชปุรีมีความแตกต่างไปในแต่ละกลุ่มชน ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรไกถิและอักษรอาหรับแบบเปอร์เซีย

ภาษาโภชปุรีมีวิธีการออกเสียงที่ต่างกัน เช่น ??? ???? ??? ออกเสียงในภาษาฮินดีเป็น ?? ????? ??? แต่ในภาษาโภชปุรีเป็น ??? ?????? ??? คำว่าความสมบูรณ์ทั้งภาษาโภชปุรีและฮินดีเขียนว่า ???? ภาษาฮินดีออกเสียงเป็น ???? ส่วนโภชปุรีเป็น ????

ในความเห็นของผู้พูดภาษาฮินดีมักมองว่าผู้พูดภาษาโภชปุรีออกเสียงผิด ซึ่งเป็นผลมาจากวิวัฒนาการที่ต่างกันของภาษาที่ใกล้เคียงกันเช่น

ในภาษาโภชปุรี ? เรียก ??? (อาธ) และเมื่อ ? ใช้กับจำนวนที่มากกว่า 2 ใช้ ????? (สาเธ) นำหน้าจำนวนทั้งหมด เช่น 7.30 เรียก ????? ??? (สาเธ สัต) ? เรียก ??? (สวา) และเหลืออีก ? เรียก ???? (เปาเน) เช่น 7.15 เรียก ??? ??? (สวา สัต) 7.45 เรียก ???? ?? (เปาเน สัต) มีชื่อเฉพาะสำหรับ 1.5 , 2.5 , 6 , และ 12 ได้แก่ ???? (เทธ) ????? (อธาอี) ??? ?????? (อาธ ดาร์ซัน) และ ?????? (ดาร์ซัน)

ในเนปาลมีผู้พูดภาษาโภชปุรี 2.5 ล้านคน คิดเป็น 9% ของประชากรเนปาลทั้งหมด ส่วนใหญ่พูดภาษาเนปาลีได้ด้วย ผู้พูดภาษาอวธีและภาษาไมถิลีเข้าใจภาษาโภชปุรีได้เช่นกัน ดังนั้น จำนวนผู้ที่เข้าใจภาษาโภชปุรีได้ในเนปาลอาจมีถึง 12 ล้านคน

สถานีวิทยุบางแห่งในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาโภชปุรีอยู่มาก กระจายเสียงเป็นภาษาโภชปุรีด้วย ในกาฐมาณฑุ มีสถานีวิทยุเอฟเอ็มกระจายเสียงเพลงภาษาโภชปุรี บางรายการใช้ภาษาโภชปุรี สถานีวิทยุเนปาลออกอากาศข่าวเป็นภาษาโภชปุรีในเวลา 6.05 PM ตามเวลาท้องถิ่นทุกวัน สถานีโทรทัศน์ออกอากาศเกี่ยวกับวัฒนธรรมของชาวโภชปุรีทุกสัปดาห์ มีหนังสือพิมพ์ภาคภาษาโภชปุรีอย่างน้อย 5 ฉบับ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944