ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ภาษาเอสเปรันโต

ภาษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร. เอสเปรันโต (D-ro Esprtanto) จากหนังสือเล่มแรกที่นำเสนอภาษาเอสเปรันโต (Unua Libro)

ประมาณการกันว่ามีผู้พูดภาษาเอสเปรันโตมากกว่า 2,000,000 คน และที่ไม่เหมือนกับภาษาประดิษฐ์อื่นคือมีผู้ทีพูดภาษานี้มาตั้งแต่เกิดประมาณ 2,000 คน สมาคมเอสเปรันโตสากล (Universala Esperanto-Asocio) มีสมาชิกอยู่ในมากกว่า 120 ประเทศ

การประชุมใหญ่เอสเปรันโตสากล (Universala Kogreso de ESperanto) เป็นการประชุมของผู้พูดภาษาเอสเปรันโตในระดับนานาชาติอันหนึ่งที่มีประวัติยาวนาน โดยจัดครั้งแรกในปี พ.ศ.2448 (ค.ศ.1905) ที่เมืองบูลอน ซู แมร์ ในประเทศฝรั่งเศส 

วันที่ 15 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันฉลองของภาษาเอสเปรันโต ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของซาเมนโฮฟ ซึ่งในวันนี้ผู้ใช้ภาษาเอสเปรันโตจะรวมตัวกันในฤดูหนาว และเลี้ยงฉลองกัน โดยบางคนจะซื้อหนังสือภาษาเอสเปรันโตเล่มใหม่ในวันนี้

ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาเดียวที่มีธงประจำภาษา โดยทั่วไปแล้วภาษาอื่นๆ จะไม่ใช้ธงชาติมาเป็นธงประจำภาษา เนื่องจากชาติหรือประเทศหนึ่งอาจมีได้หลายภาษา และภาษาหนึ่งอาจพูดในหลายชาติหรือประเทศ ธงประจำภาษาเอสเปรันโต พื้นธงเป็นสีเขียว มีรูปดาวสีเขียวบนพื้นที่สีเหลี่ยมสีขาวอยู่มุมบนซ้าย นอกจากธงแล้วยังมีเพลงประจำภาษาเอสเปรันโตอีกด้วย ชื่อเพลงว่า La Espero แปลว่า ความหวัง ซึ่งมีชื่อเหมือนกับเพลงชาติของอิสราเอล

เอสเปรันโตคิดค้นขึ้นช่วงปลาย คริสต์ทศวรรษ 1870 และต้น คริสต์ทศวรรษ 1880 โดยซาเมนฮอฟในช่วงเวลาพัฒนา 10 ปีนั้น ซาเมนฮอฟได้ใช้เวลาในการแปลวรรณกรรมต่างๆ มาเป็นภาษาเอสเปรันโต รวมทั้งการเขียนและพัฒนาหลักไวยกรณ์ต่างๆของภาษา โดยหนังสือไวยกรณ์เล่มแรกในภาษาเอสเปรันโต ชื่อ อูนูอาลิโบร (Unua Libro ความหมายในภาษาเอสเปรันโตว่า หนังสือเล่มแรก) ตีพิมพ์ที่ วอร์ซอว์ ในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2430 ซึ่งหลังจากนั้นจำนวนผู้ใช้ภาษาเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วภายใน 20 ปีต่อมา โดยเริ่มต้นจากจักรวรรดิรัสเซีย และ ยุโรปตะวันออก และได้เข้าสู่ ยุโรปตะวันตก อเมริกา ประเทศจีน และ ประเทศญี่ปุ่น ต่อมาในปี พ.ศ. 2448 การประชุมเอสเปรันโตโลก ได้จัดตั้งขึ้น โดยจัดครั้งแรกที่เมือง บูโลญจน์ ซูร์ แมร์ (Boulogne-sur-Mer) ในประเทศฝรั่งเศส และหลังจากนั้นมีการจัดประชุมกันทุกปี (ยกเว้นช่วงสงครามโลก) โดยเปลี่ยนสถานที่จัดไปทั่วโลก

ในปัจจุบันภาษาเอสเปรันโตไม่ได้เป็นภาษาทางการของประเทศใด แต่ได้มีการเรียนการสอนในหลายประเทศ อย่างไรก็ตามในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 บริเวณฉนวนโมเรสเนต (Neutral Moresnet, 2359-2462) ได้ถือว่าเป็นรัฐแรกที่ใช้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาทางการ

ในปี พ.ศ. 2511 สาธารณรัฐโรสไอส์แลนด์ ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งอิตาลี ประมาณ 11 กม. ได้ประกาศตั้งตัวเป็นประเทศเอกราช และได้ใช้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาทางการเช่นกัน อย่างไรก็ตาม โรสไอแลนด์ ไม่ถือว่าเป็นประเทศจากชาติอื่น

ในปี พ.ศ. 2454 ระหว่างช่วงการปฏิวัติซินไฮ่ ในประเทศจีน ได้มีนโยบายในการเปลี่ยนภาษาทางการจากภาษาจีน เป็นภาษาเอสเปรันโต ด้วยเหตุผลที่ว่าให้ประเทศเป็นสากล แต่ได้ถูกยกเลิกไป

ในปี พ.ศ. 2467 ในสหรัฐอเมริกา เริ่มมีการใช้ภาษาเอสเปรันโตสำหรับวิทยุสื่อสาร โดยคาดหวังว่าจะใช้เป็นภาษาหลักในการสื่อสาร แต่สุดท้ายไม่ได้รับการนิยมและได้ยกเลิกไป

ในปัจจุบันมีอยู่บางโรงเรียนที่มีการสอนภาษาเอสเปรันโต มีมากใน จีน ฮังการี บัลแกเรีย และ ออสเตรเลีย นอกจากนี้คนส่วนมากเรียนรู้ภาษา โดยเรียนรู้ด้วยตัวเอง และมีการสอนโดยอาสาสมัครต่างๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่นเว็บไซต์ lernu!

นักวิจัยหลายท่านได้ศึกษาว่าการเรียนรู้ภาษาเอสเปรันโต ช่วยให้ผู้ที่ใช้ภาษาในภาษากลุ่มอินโดยูโรเปียน (เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน) เรียนภาษาอื่นๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น อาจเนื่องมาจาก รูปแบบของภาษา ไวยากรณ์ และคำศัพท์ต่างๆ การวิจัยพบว่า เปรียบเทียบกลุ่มนักเรียน 2 กลุ่ม โดย กลุ่มแรก เรียนภาษาเอสเปรันโต 1 ปี และภาษาฝรั่งเศส 3 ปี กับกลุ่มที่สอง เรียนภาษาฝรั่งเศส 4 ปี ผลออกมาว่า กลุ่มแรกสามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสได้ดีกว่ากลุ่มที่สอง ที่เรียนภาษาฝรั่งเศสมากกว่าหนึ่งปี

ภาษาเอสเปรันโตใช้ตัวอักษรละติน ประกอบด้วยตัวอักษร 28 ตัว ซึ่งมีรูปทั้งตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก โดย 22 ตัวเหมือนตัวอักษรในภาษาอังกฤษ โดยไม่มีรูป Q, W, X และ Y และบนตัวอักษรบางตัวมีเครื่องหมายพิเศษ ตัวอักษรทั้งหมดมีดังนี้

อย่างไรก็ตาม รหัสแอสกีไม่มีสัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวอักษรเหล่านี้ ?, ?, ?, ?, ?, ? จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเขียนให้เป็น CH, GH, HH, JH, SH, U หรือ CX, GX, HX, JX, SX, UX ตามลำดับ เมื่อต้องการพิมพ์หรือบันทึกข้อมูลลงคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้ปัญหาดังกล่าวไม่มีแล้วเนื่องจากใช้รหัสยูนิโคดแทน

ไวยากรณ์เบื้องต้นของภาษาเอสเปรันโต ประกอบด้วย รากคำ ที่มีความหมายในตัวของมันเอง แล้วนำอักษรบางตัวไปต่อท้ายเพื่อเปลี่ยนหน้าที่ของคำในประโยค ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้

ซาเมนโฮฟ ได้แนะนำว่า การออกเสียงภาษาเอสเปรันโต ใช้หลักการณ์ใกล้เคียงกับภาษาอิตาลี โดยอักษรเอสเปรันโตมีลักษณะใกล้เคียงกับสัทอักษรสากล (IPA) ซึ่งการออกเสียงจะใกล้เคียงเช่นเดียวกัน


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406