ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ภาษายิดดิช

ภาษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ??????, Yiddish, = "Jewish") เป็นภาษากลุ่มเยอรมัน มีผู้พูดทั่วโลก 3 ล้านคนเขียนด้วยอักษรฮีบรู กำเนิดจากวัฒนธรรมอาสเกนาซี ที่พัฒนาขึ้นเมื่อราวพ.ศ. 1500ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก และแพร่กระจายไปยังประเทศอื่นด้วยการอพยพ ในครั้งแรกเรียกภาษานี้ว่า loshn-ashkenaz (ภาษาอาสเกนาซี) ในด้านการใช้ ภาษานี้เรียก mame-loshn (สำเนียงแม่) เพื่อให้ต่างจากภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิกที่เรีกว่า loshn-koydesh (สำเนียงศักดิ์สิทธิ์) คำว่า”ยิดดิช” เริ่มใช้เมื่อราว พ.ศ. 2300 แบ่งเป็นสองสำเนียงคือยิดดิชตะวันตกกับยิดดิชตะวันออก สำเนียงตะวันออกยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ต่างจากสำเนียงตะวันตกที่มีอิทธิพลจากภาษากลุ่มสลาวิก

วัฒนธรรมอาสเกนาซีมีรากฐานในช่วงพ.ศ. 1500 ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ชื่อนี้มาจาก Ashkenaz ชื่อของชาวยิวในยุคกลางในเขตที่ปัจจุบันอยุ่ในประเทศเยอรมัน ชนกลุ่มนี้เข้ากับชาวคริสต์ในเยอรมันไม่ได้สนิท ดินแดนนี้รวมถึงตอนเหนือของฝรั่งเศสไปจนถึงขอบเขตชาวยิวเชื้อสายสเปนที่กินพื้นที่เข้ามาถึงฝรั่งเศสตอนใต้ ต่อมาเขตนี้ได้ขยายออกไปทางตะวันออกด้วย

ภาษาแรกของชาวยิวในยุโรปคือภาษาอราเมอิก (Kast, 2004) ซึ่งเป็นภาษาของชาวยิวในปาเลสไตน์และเมโสโปเตเมีย ในสมัยโรมัน ชาวยิวในโรมและอิตาลีใต้ใช้ภาษากรีก ซึ่งต่อมาได้มีอิทธิพลต่อภาษายิดดิชด้วย ผู้พูดในอาสเกนาซีได้รับอิทธิพลจากภาษาเยอรมันจนถือว่าเป็นสำเนียงของภาษาเยอรมัน

หลักฐานเก่าสุดเป็นหนังสือภาษาฮีบรูในพ.ศ. 1815 ซึ่งมีคำจากภาษาเยอรมันปนอยู่น้อย คำจากภาษาเยอรมันเริ่มเข้ามามากในช่วงพ.ศ. 1900 – 2000

ภาษายิดดิชตะวันตกมีการใช้น้อยลงในช่วง พ.ศ. 2300 ซึ่งเนื่องมาจากการที่ผู้พูดภาษาเยอรมันมองว่าภาษายิดดิชเป็นภาษาที่ถูกบิดเบือน และจากการฟื้นตัวขึ้นอีกครั้งของภาษาฮีบรู ทำให้ภาษายิดดิชตะวันตกเหลือใช้แต่ในผู้ที่สนิทกันเท่านั้น ในทางตะวันออกที่ส่วนใหญ่ชาวยิวยังเป็นทาส ยิดดิชเป็นคำที่นักวิชาการใช้แสดงถึงความเป็นยิว ในช่วง พ.ศ. 2433 – 2453 จัดเป็นยุคทองของวรรณกรรมยิดดิช ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับการพัฒนาของภาษาฮีบรูใหม่ เพื่อใช้เป็นภาษาพูดและคำบางคำมีอิทธิพลต่อภาษายิดดิช

ในช่วงพ.ศ. 2443 ภาษายิดดิชปรากฏชัดในฐานะของภาษาหลักในยุโรปตะวันออก มีการใช้ในวรรณคดีและภาพยนตร์มาก เป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของรัฐไบโลรัสเซียในโซเวียต การศึกษาของชาวยิวในหลายประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ใช้ภาษายิดดิชมากขึ้น (โดยเฉพาะในโปแลนด์) มีการตั้งสมาคมวิทยาศาสตร์ยิดดิช เมื่อ พ.ศ. 2468 และเป็นภาษากลางของชาวยิวในยุโรปตะวันออก ซึ่งปฏิเสธลัทธิไซออนิสต์ และต้องการรักษาวัฒนธรรมยิวไว้ในยุโรป ส่วนภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็นภาษาหลักของชาวยิวในขบวนการไซออนิสต์

ในสงครามโลกครั้งที่ 2 มีผู้พูดภาษายิดดิชราว 11 – 13 ล้านคน (Jacobs, 2005) การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวลดจำนวนผู้พูดภาษายิดดิชลงไปมาก งานทางวิชาการและศาสนาที่ใช้ภาษายิดดิชถูกทำลาย ผู้พูดภาษายิดดิชรอดชีวิตเพียงราวล้านคน (ส่วนใหญ่อยู่ในอเมริกา) และจากความเข้มงวดในการใช้ภาษาเดียวของขบวนการไซออนิสต์ทำให้ผู้พูดภาษายิดดิชลดจำนวนลง เหมือนที่ภาษายิดดิชตะวันตกเคยเป็นมาก่อน

ในปัจจุบัน ภาษายิดดิชเป็นภาษาของชนส่วนน้อยในมอลโดวา และสวีเดน แต่จำนวนผู้พูดยังมีรายงานที่แตกต่างกัน ข้อมูลล่าสุดเท่าที่หาได้คือ

ภาษายิดดิชมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในพุทธศตวรรษนี้ ผู้พูดในอิสราเอลจะยืมคำจากภาษาฮีบรู ส่วนผู้พูดในสหรัฐและอังกฤษจะยืมคำจากภาษาอังกฤษทำให้การสื่อสารระหว่างผู้พูดภาษายิดดิชที่อยู่คนละประเทศทำได้ยากขึ้น

ชุมขนชาวฮาเรคิมใช้ภาษายิดดิชในพิธีกรรมทางศาสนา แม้ว่าจะพูดภาษาฮีบรูได้ และสนับสนุนให้บุตรหลานเรียนภาษายิดดิช มีการแปลคัมภีร์เป็นภาษายิดดิชด้วย


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301