ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ภาคีอังกฤษ-รัสเซีย

ข้อตกลงอังกฤษ-รัสเซีย (Anglo-Russian Entente) ลงนามเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1907 ในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก รัสเซีย ได้ทำให้ความสัมพันธ์ที่กำลังเผชิญหน้ากันระหว่างอังกฤษกับรัสเซียลดลงโดยกำหนดพรมแดนร่วมกันซึ่งระบุการควบคุมของทั้งสองในเปอร์เซีย อัฟกานิสถาน และทิเบต ข้อตกลงดังกล่าวเสมือนว่าได้ยุติการต่อสู้เพื่อแย่งชิงอำนาจอันยาวนานซึ่งแผ่ขยายไปตลอดทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียกลางที่ยังด้อยพัฒนา แม้ว่าจักรวรรดิอังกฤษและจักรวรรดิรัสเซียจะเคยประสบกับความขัดแย้งขนาดใหญ่เมื่อหลายร้อยปีก่อน ในความขัดแย้งซึ่งเรียกว่า "เกมอันยิ่งใหญ่" ได้ซ้ำเติมสถานการณ์ในขอบเขตจนกระทั่งหนทางแก้ไขปัญหาเริ่มปรากฏในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลายคนเชื่อว่าการเจรจาดังกล่าวมีจุดประสงค์ในการสร้างพันธมิตรทางการเมืองด้วยความกลัวในแสงยานุภาพและอิทธิพลที่เพิ่มมากขึ้นของเยอรมนี ผลจากข้อตกลงอังกฤษ-รัสเซีย ทำให้โอกาสในการปกครองของอิหร่านถูกทำลาย แนวคิดในการฟื้นฟูรัฐอิหร่านมิใช่สิ่งที่จักรวรรดิทั้งสองนี้สำนึกเลย; ทั้งสองได้รับเสถียรภาพและการควบคุมในเปอร์เซีย และวางแผนที่จะรักษาสภาวะเช่นนี้ต่อไป โดยรวมแล้ว อนุสัญญาดังกล่าวได้แสดงให้เห็นถึงท่าทีซึ่งได้รับการคำนวณอย่างระมัดระวังของมหาอำนาจแต่ละฝ่ายในส่วนที่ตนเลือกในการตีราคาของพันธมิตรอันทรงพลังมากกว่าการควบคุมอย่างเบ็ดเสร็จเหนือพื้นที่หลายส่วนของเอเชียกลาง

ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 อังกฤษมีอำนาจปกครองอินเดียอย่างมั่นคงและมองว่าอินเดียเป็นอาณานิคมที่สำคัญที่สุดของตน อย่างไรก็ตาม รัสเซียเองก็ได้แสดงแสงยานุภาพโดยขยายตัวลงมาทางใต้และตะวันออกสู่เอเชียกลางและรุกคืบเข้าสู่อินเดีย "เกมอันยิ่งใหญ่" หมายความถึง การแข่งขันในการควบคุมดนแดนและการควบคุมทางการเมืองในเอเชียกลางระหว่างอังกฤษและรัสเซีย ดินแดนที่อยู่ระหว่างอินเดียและดินแดนส่วนที่รัสเซียปกครอง ได้แก่ เปอร์เซีย อัฟกานิสถาน และทิเบต เป็นความปรารถนาของจักรวรรดิทั้งสองอย่างมาก อังกฤษเกรงว่า การเผชิญหน้ากับรัสเซียอาจทำให้ชาวอินเดียมีความหวังที่จะก่อการกบฏ อันเป็นความท้าทายปกครองอาณานิคมของอังกฤษ ในความสำคัญ คือ อังกฤษมีเป้าหมายที่จะกัน "อิทธิพลของรัสเซียจากชายแดนอินเดียของอังกฤษ" ในอีกทางหนึ่ง รัสเซียเองก็ต้องการดินแดนเพิ่มเติมทางพรมแดนตอนใต้ คือ อัฟกานิสถาน และกลัวการขยายดินแดนของอังกฤษมายังอาณานิคมของตน ยิ่งไปกว่านั้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้เกิดประเด็นปัญหาใหม่ขึ้น และได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทางการอังกฤษ เมื่อ จอร์จ นาทาเนียล เคอร์ซัน กระตุ้นให้รักษาความมั่นคงของน้ำมันในตะวันออกกลางของอังกฤษ นี่เป็นเพียงบางส่วนของประเด็นเท่านั้น และทำให้อังกฤษวางตัวเป็นกลางทางการทูตต่อทุกท่าทีของรัสเซีย การใช้ยุทธวิธีที่คล้ายคลึงกับการรวมเศรษฐกิจของตนเข้ากับอิหร่าน อังกฤษได้รวบรวมทิเบตเข้าสู่การปกครองโดยรุกรานครั้งแรกในปี ค.ศ. 1903 จากนั้นได้ทำให้ทิเบตเป็นคู่ค้า ซึ่งได้ทำให้ทิเบตแบกภาระหนี้มหาศาลและได้ทำให้อังกฤษมีอำนาจเพิ่มขึ้นอย่างมาก ถึงแม้ว่าชาติมหาอำนาจทั้งสองต่างก็หลีกเลี่ยงสงครามอย่างเปิดเผย "เกมอันยิ่งใหญ่" ก็ได้สร้างความเสียหาทางการเมืองแก่อังกฤษและรัสเซียไม่มากก็น้อย อย่างไรก็ตาม จากความรุ่งเรืองของเยอรมนีในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ทำให้มหาอำนาจทั้งสองพบว่าจะเป็นประโยชน์แก่ตนที่จะตกลงปรองดองและทำให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ความขัดแย้งอันตึงเครียดอย่างเช่น "เกมอันยิ่งใหญ่" ได้กีดขวางฝ่ายไตรภาคีในการเผชิญหน้ากับเยอรมนีและหลังได้รับชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1882 เยอรมนีลงนามเข้าเป็นไตรพันธมิตรกับอิตาลีและออสเตรีย-ฮังการี ทำให้เยอรมนีก้าวเข้าสู่เวทีโลกจากการพัฒนาอุตสาหกรรม สังคมและการเมือง ยิ่งไปกว่านั้น เยอรมนีเพิ่มรายจ่ายทางทหารอย่างมากนับตั้งแต่ช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 จนกระทั่งการปะทุของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ภายใต้จักรวรรดิ "ปรัสเซีย-เยอรมัน" ใหม่นี้ รัฐบาลเยอรมันได้ทำงานเพื่อเพิ่มความมั่งคั่งของชาติและบรรลุจุดสูงสุดของอำนาจเยอรมัน ในขณะที่อังกฤษและรัสเซียกำลังเคลือบแคลงกับจุดประสงค์ในการแผ่อำนาจของเยอรมนี สมาชิกของไตรพันธมิตรทีละชาติเองก็ได้ถูกคุกคามจากยุทธวิธีนโยบายต่างประเทศเชิงรุกของอังกฤษและรัสเซีย และความมั่งคั่งจากอาณานิคมของตน ด้วยเหตุนี้ การขยายดินแดนและทหารของจึงเป็นกุญแจของเยอรมนีที่จะทำให้ตนเองมีบทบาทหลักในเวทีอำนาจระหว่างประเทศ ตะวันออกกลางของเยอรมนีตกอยู่ในสถานะเป็นรอง ซึ่งมีความสำคัญน้อยกว่าสำหรับนโยบายหลักของเยอรมนีต่อยุโรปและอเมริกา ตลอดช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่มีความสำคัญเป็นรอง แต่มันได้เป็นเครื่องมือที่ถูกใช้จัดการความพยายามของตะวันออกกลางที่จะให้อำนาจตะวันตกต่อสู้กันเอง เบอร์ลินได้แทรกซึมจักรวรรดิออตโตมันอย่างสันติ และมีความปรารถนาอาณานิคมในภูมิภาคนี้น้อย

ในปี ค.ศ. 1905 กิจกรรมการปฏิวัติได้แพร่ขยายตัวอิหร่าน โดยมีการบีบบังคับให้ชาห์ยอมรับรัฐธรรมนูญ อนุญาตให้จัดตั้งมาจิลิ (สมัชชญารัฐสภา) และจัดการเลือกตั้ง หัวใจของการปฏิวัติมีเป้าหมายตลอดกาล ซึ่งได้สร้างความแตกร้าวในหมู่นักบวชในข้อได้เปรียบของราชาธิปไตย ทั้งอังกฤษและรัสเซียต่างก็ไม่รับรองการจัดการทางการเมืองเสรีอันไม่มีเสถียรภาพนี้ ทั้งสองต่างการ "หุ่นเชิด" ที่มีเสถียรภาพ อย่างเช่นรัฐบาลที่ได้รับความยินยอมจากต่างชาติและทำงานได้ดีกับเป้าหมายในการขยายอำนาจของพวกเขา เพื่อทำให้สถานการณ์ในอิหร่านสะดวกขึ้น รัสเซียและอังกฤษได้พูดคุยกันที่จะแบ่งแยกอิหร่านออกเป็นสามส่วน ข้อตกลงที่พวกเขาต้องการนั้นจะแบ่งอิหร่านออกเป็นทางเหนือ รวมไปถึงเอสฟาฮาน ให้แก่รัสเซีย; ทางตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เคอร์มาน ซิสถาน และบาลูชิสถาน ให้แก่อังกฤษ ส่วนดินแดนที่เหลือให้ปักเขตให้เป็น "เขตเป็นกลาง" ของทั้งสอง การแบ่งอิหร่านครั้งนี้ได้ทำให้การควบคุมผลประโยชน์ทางดินแดนและทางเศรษฐกิจในอิหร่านของทั้งสองมั่นคงยิ่งขึ้น เช่นเดียวกับการเข้าแทรกแซงระบบการเมืองอิหร่าน จากอิทธิพลจากต่างชาติ การปฏิวัติถูกบีบจากนักเคลื่อนไหวยุโรปและฝ่ายนิยมราชาธิปไตย


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301