ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

บูร์กินาฟาโซ

บูร์กินาฟาโซ (ฝรั่งเศส: Burkina Faso) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตกซึ่งไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านคือ ทางเหนือติดกับประเทศมาลี ตะวันออกติดกับประเทศไนเจอร์ ตะวันออกเฉียงใต้ติดกับประเทศเบนิน ทิศใต้ติดกับประเทศโตโกและประเทศกานา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับประเทศโกตดิวัวร์ (หรือไอเวอรีโคสต์)

บูร์กินาฟาโซมีชื่อเดิมว่าอัปเปอร์วอลตา และเปลี่ยนชื่อเป็นบูร์กินาฟาโซในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2527

ดินแดนนี้เคยเป็นถิ่นฐานของชาวมอสซีตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 1600 - 1800 ต่อมาถูกปกครองโดยมาลีและจักรวรรดิซองไฮ ฝรั่งเศสเข้ามาปกครองมาลีเมื่อ พ.ศ. 2439 โดยดินแดนบูร์กินาฟาโซ (หรือชื่อเดิม อัปเปอร์วอลตา)ยังรวมอยู่ในมาลี ต่อมาแยกตัวออกเมื่อ พ.ศ. 2490 โดยยังอยู่ในอาณานิคมแอฟริกาตะวันตกของฝรั่งเศส

บูร์กินาฟาโซได้รับสิทธิในการปกครองตนเองภายใต้อาณัติของฝรั่งเศสในเดือนธันวาคม 2501 และได้รับเอกราชโดยสมบูรณ์ในวันที่ 5 สิงหาคม 2503 โดยมีนาย Mauric Yameogo หัวหน้าพรรค the Union Democratique Valtaique (UDV) ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรก และได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่จากชนเผ่า Mossi ซึ่งเป็นชนเผ่าที่มีจำนวนร้อยละ 50 ของจำนวนประชากรของประเทศ

การที่ประธานาธิบดี Yameogo ปกครองประเทศด้วยระบบเผด็จการทหารมาตลอด โดยรวบอำนาจทั้งหมดอยู่ในมือและห้ามมิให้มีพรรคการเมืองฝ่ายค้าน กอปรกับเศรษฐกิจของบูร์กินาฟาโซอยู่ในภาวะที่ตกต่ำและเสื่อมถอยเป็นอย่างมาก เป็นเหตุให้ประชาชนแสดงความไม่พอใจและก่อความวุ่นวานจนทำให้เกิดการจลาจลขึ้นทั่วประเทศ เป็นผลให้คณะนายทหารภายใต้การของ พ.ท. Sangoule Lamizana ทำการรัฐประหารได้สำเร็จ เมื่อเดือนมกราคม 2509 พ.ท. Lamizana ซึ่งตั้งตนเองขึ้นเป็นประธานาธิบดีได้ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ และประกาศใช้มาตรการรัดเข็มขัด เป็นผลให้ภาวะเศรษฐกิจของบูร์กินาฟาโซดีขึ้นมาก อย่างไรก็ตาม ประธานาธิบดี Lamizana ประกาศใช้รัฐธรรมนูญอีกครั้งในปี 2520 และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2521 และเปิดโอกาสให้พลเรือนเข้าไปมีส่วนร่วมในรัฐบาลมากขึ้น ด้วยการแต่งตั้งนาย Gerard Ouedraogo เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2527 คณะนายทหารภายใต้การนำของร้อยเอก Thomas Sankara ทำรัฐประหารยึดอำนาจได้สำเร็จ ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ และเปลี่ยนชื่อเป็นจาก Upper Volta เป็น Burkina Faso ซึ่งแปลว่า ประเทศของผู้มีความซื่อสัตย์ (Country of the Upright People)

อย่างไรก็ตาม ประธานาธิบดี Sankara ถูกลอบสังหารในปี 2530 เป็นผลให้บ้านเมืองเกิดความวุ่นวายจนกระทั่ง ร้อยเอก Blaise Campaor? ได้ทำรัฐประหารยึดอำนาจเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2530 และประกาศใช้รัฐธรรมนูญอีกครั้งในปี 2534 รวมทั้งอนุญาตให้มีระบบหลายพรรคการเมืองอีกครั้ง และให้มีการเลือกตั้งทั่วไป ร้อยเอก Campaor? ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีในเดือนธันวาคม 2534 โดยในขณะนั้นกำหนดให้มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 7 ปี พร้อมทั้งให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติ ซึ่งมีจำนวน 107 คนในปี 2535 และต่อมา ประธานาธิบดี Compaor? ได้รับเลือกตั้งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกเป็นสมัยที่ 2 ในปี 2541

ในภาพรวมในอดีตที่ผ่านมา บูร์กินาฟาโซต้องประสบกับความขัดแย้งทางการเมือง และระบบการปกครองหลายรูปแบบ นับแต่ได้รับเอกราชเมื่อปี 2503 อันเป็นสาเหตุหลักที่ฉุดรั้งการพัฒนาประเทศ การปฏิวัติเมื่อปี 2530 ได้ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่ดีขึ้น โดยเฉพาะในระยะสิบปีที่ผ่านมา การเมืองภายในบูร์กินาฟาโซอยู่ในห้วงเวลาที่ค่อนข้างมีเสถียรภาพ จากการที่มีหลายพรรคการเมืองเข้าร่วมในกิจกรรมทางการเมือง โดยมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามระบอบรัฐสภา สภาวะดังกล่าวได้ปูพื้นฐานให้มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจตามมา โดยมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ขยายตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

บูร์กินาฟาโซเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมแอฟริกาตะวันตกของฝรั่งเศส ได้รับสิทธิในการปกครองตนเองภายใต้อาณัติของฝรั่งเศสในเดือนธันวาคม 2501 และได้รับเอกราชโดยสมบูรณ์ในวันที่ 5 สิงหาคม 2503 โดยมีนาย Mauric Yameogo หัวหน้าพรรค the Union Democratique Valtaique (UDV) ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรก และได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่จากชนเผ่า Mossi ซึ่งเป็นชนเผ่าที่มีจำนวนร้อยละ 50 ของจำนวนประชากรของประเทศ

การที่ประธานาธิบดี Yameogo ปกครองประเทศด้วยระบบเผด็จการทหารมาตลอด โดยรวบอำนาจทั้งหมดอยู่ในมือและห้ามมิให้มีพรรคการเมืองฝ่ายค้าน กอปรกับเศรษฐกิจของบูร์กินาฟาโซอยู่ในภาวะที่ตกต่ำและเสื่อมถอยเป็นอย่างมาก เป็นเหตุให้ประชาชนแสดงความไม่พอใจและก่อความวุ่นวานจนทำให้เกิดการจลาจลขึ้นทั่วประเทศ เป็นผลให้คณะนายทหารภายใต้การของ พ.ท. Sangoule Lamizana ทำการรัฐประหารได้สำเร็จ เมื่อเดือนมกราคม 2509 พ.ท. Lamizana ซึ่งตั้งตนเองขึ้นเป็นประธานาธิบดีได้ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ และประกาศใช้มาตรการรัดเข็มขัด เป็นผลให้ภาวะเศรษฐกิจของบูร์กินาฟาโซดีขึ้นมาก อย่างไรก็ตาม ประธานาธิบดี Lamizana ประกาศใช้รัฐธรรมนูญอีกครั้งในปี 2520 และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2521 และเปิดโอกาสให้พลเรือนเข้าไปมีส่วนร่วมในรัฐบาลมากขึ้น ด้วยการแต่งตั้งนาย Gerard Ouedraogo เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2527 คณะนายทหารภายใต้การนำของร้อยเอก Thomas Sankara ทำรัฐประหารยึดอำนาจได้สำเร็จ ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ และเปลี่ยนชื่อเป็นจาก Upper Volta เป็น Burkina Faso ซึ่งแปลว่า ประเทศของผู้มีความซื่อสัตย์ (Country of the Upright People)

อย่างไรก็ตาม ประธานาธิบดี Sankara ถูกลอบสังหารในปี 2530 เป็นผลให้บ้านเมืองเกิดความวุ่นวายจนกระทั่ง ร้อยเอก Blaise Campaor? ได้ทำรัฐประหารยึดอำนาจเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2530 และประกาศใช้รัฐธรรมนูญอีกครั้งในปี 2534 รวมทั้งอนุญาตให้มีระบบหลายพรรคการเมืองอีกครั้ง และให้มีการเลือกตั้งทั่วไป ร้อยเอก Campaor? ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีในเดือนธันวาคม 2534 โดยในขณะนั้นกำหนดให้มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 7 ปี พร้อมทั้งให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติ ซึ่งมีจำนวน 107 คนในปี 2535 และต่อมา ประธานาธิบดี Compaor? ได้รับเลือกตั้งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกเป็นสมัยที่ 2 ในปี 2541

ในภาพรวมในอดีตที่ผ่านมา บูร์กินาฟาโซต้องประสบกับความขัดแย้งทางการเมือง และระบบการปกครองหลายรูปแบบ นับแต่ได้รับเอกราชเมื่อปี 2503 อันเป็นสาเหตุหลักที่ฉุดรั้งการพัฒนาประเทศ การปฏิวัติเมื่อปี 2530 ได้ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่ดีขึ้น โดยเฉพาะในระยะสิบปีที่ผ่านมา การเมืองภายในบูร์กินาฟาโซอยู่ในห้วงเวลาที่ค่อนข้างมีเสถียรภาพ จากการที่มีหลายพรรคการเมืองเข้าร่วมในกิจกรรมทางการเมือง โดยมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามระบอบรัฐสภา สภาวะดังกล่าวได้ปูพื้นฐานให้มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจตามมา โดยมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ขยายตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

การเปิดโอกาสให้นักการเมืองรุ่นใหม่ได้เข้ามีบทบาททางการเมืองมากขึ้นภายหลังการปฏิวัติเมื่อปี 2526 เป็นผลดีต่อระบบการเมืองในการกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ ทั้งยังผลักดันให้นักการเมืองรุ่นเก่าที่มีบทบาทในอดีตต้องกลับกลายเป็นฝ่ายค้าน กลไกในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชนเผ่าต่าง ๆ ซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญต่อความสงบเรียบร้อยของประเทศ มีส่วนส่งเสริมความปรองดองในบูร์กินาฟาโซเป็นอย่างมาก ภายหลังประธานาธิบดี Thomas Sankara ถูกลอบสังหารในปี 2530 การเจรจาระหว่างกลุ่มชนเผ่าMossi และ Fulani สามารถดับชนวนความขัดแย้งก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่สงบอันนำไปสู่วิกฤตการณ์ทางการเมือง ทั้งนี้ ประธานาธิบดี Compaore ซึ่งสืบทอดอำนาจต่อจากประธานาธิบดี Sankara ก็ได้อาศัยฐานคะแนนเสียงสนับสนุนจากเครือข่ายกลุ่มชนเผ่าต่าง ๆ และในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อเดือนพฤษภาคม 2540 พรรคสภาประชาธิปไตยและการพัฒนา (Congres pour la Democratie et le Progres – CDP) ของประธานาธิบดี Compaore สามารถกวาดที่นั่งในสภาได้ทั้งหมด 101 ที่นั่งจากที่นั่งทั้งหมด 111 ที่นั่ง อย่างไรก็ตาม พรรค CDP เป็นพรรคเดียวที่ส่งผู้สมัครในทุกเขตเลือกตั้ง ในระยะยาวแล้ว ความเป็นปึกแผ่นของพรรค CDP และอำนาจของประธานาธิบดี Compaore ขึ้นอยู่กับการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในปัจจุบันการที่รัฐบาลมีเสียงข้างมากอย่างท่วมท้น จะทำให้การดำเนินนโยบายต่าง ๆ เป็นไปอย่างราบรื่นและส่งผลให้มีความต่อเนื่องยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ประธานาธิบดี Compaore จะต้องคงดุลยภาพทางสังคมระหว่างกลุ่มชนเผ่าพันธ์ต่าง ๆ เช่นในปัจจุบัน เพื่อมิให้เกิดความขัดแย้งอันอาจนำไปสู่วิกฤตการณ์ทางการเมืองได้ คาดว่าในการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งต่อไปในช่วงปลายปี 2541 ประธานาธิบดี Compaore จะลงสมัครรับเลือกตั้งอีกวาระหนึ่ง ซึ่งการมีเครือข่ายฐานคะแนนเสียงสนับสนุนที่กว้างขวางจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง การเลือกตั้งประธานาธิบดีบูร์กินาฟาโซ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2541

หลังการก่อการกำเริบในบูร์กินาฟาโซ พ.ศ. 2557 ได้มีการจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลขึ้น และมีกำหนดจัดการเลือกตั้ง วันที่ 11 ตุลาคม 2558 แต่ในวันที่ 16 กันยายน 2558 ได้เกิดการรัฐประหาร นำโดยนายพลกิลแบร์ต เดียนเดเร มีการจับกุมประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาล ต่อมานายพลเดียนเดเรได้ขึ้นเป็นประธานสภาแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย หลังจากถูกกดดันจากองค์กรหลายฝ่าย ในวันที่ 24 กันยายน 2558 คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองได้ยอมลงจากอำนาจ โดยผู้ที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเฉพาะกาลคือ มิเชล คาฟานโด ต่อมามีการจัดการเลือกตั้งในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2558 โดยผู้ที่ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนใหม่คือ รอช มาร์ก คริสเตียน คาบอเร

บูร์กินาฟาโซมีภูมิอากาศร้อนและแห้งแล้ง จะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนมิถุนายนถึงตุลาคม โดยเฉพาะทางภาคใต้ของประเทศ ในขณะที่ทางตอนเหนือ ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทะเลทราย จะมีฝนไม่มากนัก ส่วนฤดูแล้ง จะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมีนาคม อุณหภูมิเฉลี่ยระหว่าง 14–35 องศาเซลเซียส

บูร์กินาฟาโซเป็นประเทศยากจนลำดับต้นๆ ตามการจัดลำดับของสหประชาชาติ ประสบปัญหาขาดแคลนอาหารเนื่องจากภัยแล้ง ความเสื่อมของดินซึ่งกำลังแปรสภาพเป็นทะเลทราย (desertification) การขาดแคลนน้ำ ไม่มีทางออกทางทะเล นอกจากนี้ ยังเผชิญกับปัญหาด้านความมั่นคงมนุษย์ (human security) เช่นอัตราความไม่รู้หนังสือของประชาชนที่มีสูงถึงร้อยละ 70 และประชากรมีอายุเฉลี่ยเพียง 44 ปี เนื่องจากประสบปัญหาโรคระบาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเอดส์และมาลาเรีย รัฐบาลจึงให้ความสำคัญแก้ไขปัญหาสังคมโดยเน้นด้านการศึกษาและการ สาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

บูร์กินาฟาโซมีทรัพยากรธรรมชาติประเภทแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ แหล่งแร่ธาตุในบูร์กินาฟาโซครอบคลุมพื้นที่ 22% ของพื้นที่ ประเทศทั้งหมด อย่างไรก็ตาม การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติดังกล่าวมิได้เป็นไปอย่างเต็มที่ เนื่องจากยังไม่มีการพัฒนากิจการเหมืองแร่อย่างจริงจัง การสำรวจแหล่งแร่ยังอยู่ในระยะเริ่มต้นและส่วนใหญ่ยังมิได้มีการขุดเจาะ

บูร์กินาฟาโซมีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพึ่งพา โดยต้องอาศัยความช่วยเหลือจากต่างประเทศมาโดยตลอด นอกจากนี้ บูร์กินาฟาโซยังได้รับผลกระทบจากการลดค่าเงินฟรังก์เซฟา (Franc CFA) ของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2537 ภายใต้นโยบายการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจตามคำแนะนำของกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศและธนาคารโลก ซึ่งมีผลทำให้บูร์กินาฟาโซต้องขาดดุลการชำระ เงินเป็นจำนวนมากในการสั่งสินค้าเข้า อย่างไรก็ดี บูร์กินาฟาโซประสบความสำเร็จระดับหนึ่งในการดำเนินนโยบายปรับโครงสร้างทาง เศรษฐกิจ อันนำมาซึ่งความไว้วางใจจากกลุ่มประเทศผู้ให้ความช่วยเหลือ ทำให้บูร์กินาฟาโซได้รับความช่วยเหลือจากองค์กรเหล่านั้นในการปฏิรูป เศรษฐกิจเพื่อทำให้ระบบเศรษฐกิจและสินค้ามีความสามารถในการแข่งขันกับกลไก ราคาในตลาดโลกได้

รากฐานทางเศรษฐกิจของบูร์กินาฟาโซขึ้นอยู่กับการส่งออกสินค้าเกษตรและวัตถุ ดิบซึ่งมีจำนวนจำกัด อย่างไรก็ดี มูลค่าส่วนใหญ่ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติมาจากรายได้ด้านบริการ การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องของบูร์กินาฟาโซ เป็นผลจากการลงทุนทั้งในภาครัฐและเอกชน กอปรกับเสถียรภาพทางการเมืองภายในประเทศ และการปฏิบัติตามแผนปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจซึ่งเริ่มใช้เมื่อห้าปีที่ แล้ว ตลอดจนการลดค่าเงินฟรังก์เซฟาเมื่อปี 2537 ได้ทำให้เงินทุนต่างชาติไหลเข้ามาในประเทศมากขึ้น อย่างไรก็ตาม บูร์กินาฟาโซยังขาดความพร้อมในการรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในการลงทุน ดังนั้น นักลงทุนที่เข้าไปส่วนใหญ่จึงมุ่งไปที่โครงการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน อันเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาประเทศ โดยในระยะยาวรัฐบาลจะต้องเร่งลดการขาดดุลทางการค้า และหามาตรการรักษาระดับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้ต่อเนื่อง เพื่อเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนมิใช่เป็นการเข้ามาตักตวงผลประโยชน์ในช่วงระยะ สั้นๆ ของนักลงทุนต่างชาติ ประธานาธิบดี Blaise Compaore ได้เคยกล่าวในระหว่างการพบปะกับนักลงทุนว่า บูร์กินาฟาโซมีศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจอีกมาก แม้ฐานแรงงานส่วนใหญ่เป็นกลุ่มแรงงานที่ไร้ฝีมือ และจะรักษาเสถียรภาพทางการเมืองตามระบอบประชาธิปไตยเพื่อสร้างบรรยากาศส่ง เสริมเศรษฐกิจและการลงทุนที่ดี ทั้งนี้ นาย Kadre Desore Ouedraogo นายกรัฐมนตรีได้ย้ำว่า การที่บูร์กินาฟาโซจะบรรลุเป้าหมายในการมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยไม่ ให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ (Non-inflationary growth) จะต้องปฏิบัติตามนโยบายเศรษฐกิจอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการติดตามกระแสการเงินและการคลังอย่างใกล้ชิด การปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษี การจัดการหนี้ค้างชำระ การควบคุมการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร และในปีที่ผ่านมา เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันและดำเนินการในทิศทางที่ถูกต้อง บูร์กินาฟาโซได้ออกมาตรการรองรับการลงทุนโดยมีการทบทวน ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายหลายฉบับ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน ศุลกากร เหมืองแร่ และแรงงาน เพื่อเป็นหลักประกันให้แก่ผู้ลงทุนมากขึ้น นอกจากนั้นกระบวนการยุติธรรมก็ได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาวะทางการ เมืองและเศรษฐกิจด้วย โดยเฉพาะการที่จะต้องรองรับระบบเศรษฐกิจที่มีความซับซ้อนมากขึ้น รวมทั้งการกระจายอำนาจการบริหารสู่ภูมิภาคเพื่อให้หน่วยงานราชการมีอำนาจ บริหารอิสระมากขึ้น

รัฐบาลได้พยายามอย่างเต็มที่ในการจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับการพัฒนา เพื่อให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น พร้อมทั้งได้เตรียมมาตรการจูงใจนักลงทุน และรองรับสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน โดยเมื่อเดือนมีนาคม 2539 ได้มีการรับรองกฎระเบียบว่าด้วยการทำสัญญาระหว่าง คู่ค้า มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่รัฐให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบการค้าภายใน และกระบวนการรับเงินทุนพัฒนาจากประเทศผู้ให้ นอกจากนี้ มีมาตรการตรวจสอบและควบคุมโครงการพัฒนาของภาครัฐ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301