ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ธนบัตรไทย

ธนบัตรในประเทศไทย เริ่มมีการใช้ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้มีการใช้ "เงินกระดาษ" เป็นครั้งแรก แต่ยังไม่ได้เรียกว่า "ธนบัตร" ใช้คำว่า "หมาย" เรียกแทน โดยออกใช้เมื่อ พ.ศ. 2396 และคงใช้ต่อมาทั้งสิ้น 3 รุ่น

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้ "ตั๋วกระดาษ" ราคา 1 อัฐ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2417 เพื่อใช้แทนเงินเหรียญกษาปณ์ที่ไม่เพียงพอใช้งาน ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า "อัฐกระดาษ" ที่ใช้เรียกขานกันในหมู่ประชาชน ต่อมาในปี พ.ศ. 2432-2442 ทรงอนุญาตให้ธนาคารต่างประเทศที่เข้ามาเปิดสาขาดำเนินงานในประเทศไทย คือ ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้, ธนาคารชาเตอรด์แห่งอินเดีย ออสเตรเลีย และจีน และธนาคารแห่งอินโดจีน ให้สามารถออกธนบัตรของตัวเองได้ เรียกว่า "แบงก์โน้ต" หรือ "แบงก์" นับว่าเป็น "บัตรธนาคาร" รุ่นแรกๆ ที่มีใช้ในประเทศไทย จนถึงวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2445 จึงทรงให้ยกเลิก และประกาศใช้ "ธนบัตร" แบบแรกของประเทศไทยอย่างเป็นทางการ

ธนบัตรใช้หมุนเวียน เป็นธนบัตรที่ใช้แลกเปลี่ยนประจำวันทั่วไป มีมูลค่าแลกเปลี่ยนตามราคาปรากฏในธนบัตร เมื่อมีการชำรุดเสียหายก็จะมีการพิมพ์ทดแทน ธนบัตรไทยที่ออกใช้ตั้งแต่แบบแรกเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2445 จนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2555) มีออกมาใช้ทั้งหมด16แบบ ได้แก่

เป็นธนบัตรที่ออกใช้หมุนเวียนนอกเหนือจากแบบที่ใช้อย่างเป็นทางการข้างต้น ประกาศใช้งานระหว่างวันที่ 25 มกราคม 2485 ถึง 3 มิถุนายน 2489 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เกิดการขาดแคลนธนบัตรใช้งานขณะนั้น

ราคา 50 บาท ขนาด 6.5 x 12.5 ซม. กรมแผนที่ทหารพิมพ์เพื่อจะนำไปใช้ที่มณฑลมลายูตอนเหนือ สี่รัฐ โดยพิมพ์ราคาเป็น 1 ดอลล่า แต่ไม่ได้นำออกใช้ เมื่อเกิดขาดแคลนธนบัตรจึงนำออกมาแก้เป็นราคา 50 บาท ด้านหน้า กรอบสีม่วง พื้นเหลือง ด้านหลัง ลายสีม่วง พื้นเหลือง

รุ่นที่ 1 ประกาศใช้ 8 กุมภาพันธ์ 2488 การพิมพ์แก้ : พิมพ์ด้วยหมึกดำทับ -เลข 1 อาหรับ -คำ หนึ่งดอลล่า -อักษรมลายูกับจีนทั้งหมด ด้านหน้า พิมพ์เลข 50 ด้วยหมึกแดงบนลายน้ำ ด้านหน้า พิมพ์ "ห้าสิบบาท" ด้วยหมึกแดง ใต้คำ รัถบาลไทย

รุ่นที่ 2 ประกาศใช้ 13 กุมภาพันธ์ 2488 การพิมพ์แก้ : ด้านหน้า แก้เฉพาะการพิมพ์ " ห้าสิบบาท" ด้วยหมึกดำทับ "หนึ่งดอลล่า" พิมพ์ลายมือชื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังบนลายน้ำ ลายมือชื่อรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง มี นายควง อภัยวงศ์ เพิ่มอีกหนึ่งท่าน

รุ่นที่ 3 ประกาศใช้ 21 กุมภาพันธ์ 2488 การพิมพ์แก้ : ด้านหน้าแก้ไขเหมือนรุ่นที่ 1 แต่จะมีเฉพาะลายมือชื่อรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง นายเล้ง ศรีสมวงศ์ เพียงท่านเดียว ด้านหลังไม่มีการแก้ไข

ราคา 50 สตางค์ ประกาศใช้ 30 มีนาคม 2489 เดิมเป็นธนบัตรแบบ 5 ราคา 10 บาท ที่ทางการญี่ปุ่นจัดพิมพ์ที่ชวา ซึ่งเป็นธนบัตรที่มีคุณภาพต่ำทั้งกระดาษและหมึกพิมพ์ และไม่มีลายน้ำเพื่อป้องกันการปลอมแปลงด้วย จึงนำมาแก้ไขใช้งานด้วยการพิมพ์ทับด้วยหมึกดำ

ด้านหน้า พิมพ์ "๕๐ ส.ต." ทับเลข ๑๐ เดิมที่มุม ยกเว้น มุมล่างขวาที่ไม่มีตัวเลข พิมพ์ "ห้าสิบ ส.ต." ทับ "สิบ บาท" ตรงกลาง ใต้คำว่า รัฐบาล ไทย พิมพ์เลขหมวดขนาบข้างหน้าและหลังของคำว่า รัฐบาล ไทย ด้วยอักษรไทยอยู่เหนือเลขอาหรับ

ราคา 1 บาท ประกาศใช้ 3 มิถุนายน 2489 เป็นพันธบัตรที่ทางการอังกฤษพิมพ์ไว้ใช้งานเมื่อตีเอาประเทศไทยจากญี่ปุ่น แต่ไม่ได้ใช้ เมื่อสงครามสงบลงจึงมอบให้ทางการไทย เมื่อเกิดขาดแคลนธนบัตรจึงได้นำมาแก้ไขใช้งาน มีขนาด 7.3 x 11.4 ซม. สีน้ำเงิน

ด้านหน้า พิมพ์ "รัฐบาลไทย" (บน) และ "ธนบัตรเป็นเงินที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย" (ล่าง แต่บางฉบับก็ไม่มีคำว่า ที่) ด้วยหมึกดำ เหนือคำว่า "ONE BAHT" เลขหมาย -เลขหมวด อักษรไทย (เหนือ) และเลขอาหรับ (ล่าง) -เลขฉบับ เลขอาหรับ

ธนบัตรที่ระลึกและบัตรธนาคาร เป็นธนบัตรที่ออกเนื่องในวาระสำคัญต่าง ๆ เช่น ธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี เป็นต้น มูลค่าแลกเปลี่ยนมักจะสูงกว่าราคาที่กำหนด ธนบัตรชนิดนี้จะพิมพ์ออกมาเพียงครั้งเดียวไม่มีการพิมพ์ทดแทน ส่วนบัตรธนาคารก็จะคล้ายกับธนบัตรที่ระลึก จะต่างกันที่การออกบัตรธนาคารกระทำโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ไม่ใช่ออกโดยรัฐบาลไทย ซึ่งก็มีเพียงแบบเดียวที่ออกมาในรัชกาลปัจจุบัน คือ บัตรธนาคาร ชนิดราคา 60 บาท ที่ออกใช้เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2530 (ประกาศใช้ 3 มิถุนายน 2530)


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301