ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ตระกูลภาษาดราวิเดียน

ตระกูลภาษาดราวิเดียนเป็นตระกูลของภาษาที่มีสมาชิก 73 ภาษา ส่วนใหญ่ใช้พูดทางภาคใต้ของอินเดียและทางตะวันออกเฉียงเหนือของศรีลังกา และบางบริเวณในปากีสถาน เนปาล บังกลาเทศ และภาคกลางและภาคตะวันออกของอินเดีย รวมทั้งบางส่วนของอัฟกานิสถานด้วย นอกจากนั้นยังมีผู้ที่อพยพไปยังมาเลเซียและสิงคโปร์

คำว่า ดราวิเดียน นั้น ผู้ใช้คนแรกคือ Robert Caldwell ผู้เขียนไวยากรณ์เปรียบเทียบของตระกูลภาษาดราวิเดียน โดยมีพื้นฐานมาจากคำภาษาสันสกฤตว่า ??????? ทฺราวิฑ ส่วนที่มาของคำว่า ทฺราวิฑ นั้นมีอธิบายไว้หลายทฤษฎี ทฤษฎีอย่างง่ายสุดกล่าวว่าเป็นลูกผสมเกิดจากคำ ตามิซมา เป็น ทฺราวิฑ บางส่วนกล่าวว่า ทฺราวิฑ มาจากรากศัพท์ของคำว่า กันณฑะ (กันนาดา) และเป็นจุดเริ่มต้นของคำ ทมิฬ

ในงานของภทริวารุ กฤษณมุรตี (2003) กล่าวว่าคำว่า ทฺราวิฑ มาจากคำว่า ทรามิละ ซึ่งใช้เรียกกลุ่มชน ต่อมาจึงใช้เรียกประเทศ ข้อมูลทางพุทธศาสนาและศาสนาเชนรุ่นแรกๆ ใช้คำว่า ทรามิละ หมายถึงคนที่อยู่ทางตอนใต้ของอินเดีย (อาจจะกลายมาเป็น ทมิฬ) จารึกภาษาสิงหลยุคก่อนคริสตกาลมีคำว่า ทาเมฑา-ทาเมลา หมายถึงพ่อค้าชาวทมิฬ การเปลี่ยนจาก ทมิฬ มาเป็น ทฺราวิฑ อาจได้อิทธิพลมาจากการทำให้เป็นสันสกฤต

ภาษากลุ่มดราวิเดียนมีผู้พูดมากกว่า 2 ล้านคน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่ใช้พูดทั่วไปในอินเดีย บางครั้ง นักภาษาศาสตร์จัดให้ภาษากลุ่มนี้อยู่ในตระกูลภาษาอีลาโม-ดราวิเดียนโดยรวมภาษาอีลาไมต์ที่ตายไปแล้วด้วย

ตระกูลภาษาดราวิเดียนมีอิทธิพลต่อโครงสร้างและประโยคของภาษากลุ่มอินโด-อารยันมากกว่าที่ภาษากลุ่มอินโด-อารยันจะมีอิทธิพลต่อภาษากลุ่มดราวิเดียน

จุดกำเนิดและพัฒนาการในช่วงต่อมาของตระกูลภาษาดราวิเดียนยังไม่แน่นอน จากการที่ภาษาอีลาไมต์ไม่มีความเชื่อมโยงกับภาษาตระกูลใดเลยไม่ว่าจะเป็นตระกูลภาษาญี่ปุ่น ภาษาบาสก์ ภาษาเกาหลี ภาษาสุเมเรีย ภาษาท้องถิ่นในออสเตรเลีย และภาษาของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ จากทฤษฎีที่ว่าภาษากลุ่มดราวิเดียนมีความคล้ายคลึงกับภาษากลุ่มยูราลิก ซึ่งอาจจะเคยมีการติดต่อกันมาในอดีตจึงเชื่อมโยงภาษากลุ่มดราวิเดียนเข้ากับภาษาอีลาไมต์แต่ยังมีข้อโต้แย้งอยู่

นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ชอบที่จะเชื่อทฤษฎีที่ว่าตระกูลภาษาดราวิเดียนแผ่ขยายลงทางใต้ และไปทางตะวันออกของอินเดียภาคพื้นทวีป เชื่อว่าภาษาดราวิเดียนดั้งเดิมแยกออกเป็นภาษาดราวิเดียนเหนือดั้งเดิม ภาษาดราวิเดียนกลางดั้งเดิม ภาษาดราวิเดียนกลาง-ใต้ดั้งเดิม และภาษาดราวิเดียนใต้ดั้งเดิมเมื่อราว พ.ศ. 43 อย่างไรก็ตาม มีนักภาษาศาสตร์บางส่วนเชื่อว่าการแยกตัวน่าจะเกิดก่อนหน้านั้น

ลักษณะสำคัญของตระกูลภาษาดราวิเดียนได้แก่ เป็นภาษารูปคำติดต่อ แยกสรรพนามบุรุษที่ 1 พหูพจน์ที่รวมและไม่รวมผู้ฟัง มีการแบ่งประเภทของคำที่สำคัญได้แก่ นาม คุณศัพท์ กริยาและคำช่วยอื่นๆ ภาษาดราวิเดียนดั้งเดิมใช้เฉพาะปัจจัยไม่มีอุปสรรคหรืออาคมในโครงสร้าง รากศัพท์มักอยู่ตอนต้นของคำ นาม กริยาและคำช่วยเป็นระดับของคำเริ่มต้น มีสองพจน์ และระบบเพศต่างกัน 4 แบบ โดยอาจจะเป็น ผู้ชาย: ไม่ใช่ผู้ชายในรูปเอกพจน์ และบุคคล: ไม่ใช่บุคคลในรูปพหูพจน์

การเรียงคำมีรูปแบบแน่นอนแต่ก็เปลี่ยนแปลงได้ กาลเริ่มต้นมีแค่อดีตกับไม่ใช่อดีต กาลปัจจุบันมีการพัฒนาภายหลังและเป็นอิสระในแต่ละภาษา กริยามีรูปสกรรมกริยา อกรรมกริยาและรูปที่เป็นสาเหตุ โดยมีทั้งรูปประธานกระทำและประธานถูกกระทำ

ภาษาดราวิเดียนดั้งเดิมมีเสียสระสั้นและยาวของเสียง a e i o u มีสระสั้นยาวต่างกันเป็นคู่ชัดเจน ไม่มีสระประสม เสียงกักเกิดจากโคนฟัน กลายเป็นเสียงรัวเกิดจากโคนฟัน โดยยังคงเป็นเสียงกักในภาษาโกตะและภาษาโตทะ ภาษามาลายาลัมสามารถรักษาเสียงกักดั้งเดิมในการเขียน ในภาษาทมิฬโบราณมีการใช้สระที่อกเสียงคล้ายกับเสียงกักอื่นๆ เสียงนาสิกที่เกิดจากเพดานอ่อนเกิดเฉพาะก่อนเสียง k ในภาษาดราวิเดียนดั้งเดิม เช่นเดียวกับในภาษาลูกหลานหลายภาษา เสียงนี้ไม่จัดเป็นหน่วยเสียงในภาษาดราวิเดียนดั้งเดิม แต่เป็นหน่วยเสียงในภาษามาลายาลัม ภาษาโคนที และภาษาโกนทะ เสียงเสียดแทรกจากเส้นเสียงพบในภาษาทมิฬโบราณ

ภาษากลุ่มดราวิเดียนไม่มีการแยกระหว่างเสียงที่มีและไม่มีลม ในขณะที่ภาษาดราวิเดียนบางภาษา เช่น ภาษามาลายาลัม ภาษากันนาดาและภาษาเตลูกูได้ยอมรับคำยืมจำนวนมากจากภาษาสันสกฤตและภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนอื่นๆ ทำให้มีการแยกเสียงที่ก้องและเสียงที่มีลม ส่วนในภาษากลุ่มดราวิเดียนอื่นๆจะมีวิธีการออกเสียงที่แปลกไป ในขณะที่ภาษาทมิฬมีลักษณะเช่นเดียวกับภาษาฟิน ภาษาเกาหลี ภาษษไอนุและภาษาของชนพื้นเมืองในออสเตรเลียส่วนใหญ่คือไม่แยกระหว่างเสียงกักก้องและไม่ก้อง

มีคำจำนวนมากที่ขึ้นต้นและลงท้ายด้วยเสียงสระซึ่งช่วยให้การเรียงคำแบบรูปคำติดต่อง่ายขึ้น ตัวเลขจาก 1-10 มีความหลากหลายในตระกูลภาษาดราวิเดียน ตัวอย่างเช่น ตัวเลขจากภาษาทมิฬและภาษามาลายาลัมใกล้เคียงกับภาษาโกลามี เลข 5-10 ยืมมาจากภาษาเตลูกู คำที่บอกอันดับที่สองยืมมาจากกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านเป็นต้น

ภาษาสันสกฤตและกลุ่มภาษาดาวิเดียนมีอิทธิพลต่อกันในหลายด้าน มุมมองในยุคแรกมักเน้นอิทธิพลของภาษาสันสกฤตต่อกลุ่มภาษาดราวิเดียน ในด้านที่ว่ากลุ่มภาษาดราวิเดียน เช่น ภาษากันนาดา ภาษามาลายาลัม ภาษาทมิฬและภาษาเตลูกูได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤตในด้านคำศัพท์ ไวยากรณ์ และรูปแบบการเขียนวรรณคดี

การศึกษาในปัจจุบัน เริ่มมีหลักฐานแสดงให้เห็นว่าภาษาสันสกฤตได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาดราวิเดียนมากขึ้นทั้งในด้านสัทวิทยาและโครงสร้างไวยากรณ์ ซึ่งพบตั้งแต่ราว 657 ปีก่อนพุทธศักราช ในยุคของภาษาสันสกฤตพระเวท โดยในยุคนี้ ภาษาสันสกฤตมีเสียงม้วนลิ้น ซึ่งภาษาในกลุ่มอินโด-อิหร่านไม่มีเสียงนี้ จึงเป็นข้อสังเกตว่าน่าจะได้รับหน่วยเสียงนี้มาจากภาษาอื่น ซึ่งกลุ่มภาษาดราวิเดียนมีหน่วยเสียงเหล่านี้มาก อิทธิพลในด้านไวยากรณ์ที่สำคัญคือ การใช่เครื่องหมาย iti และการใช้รูปอาการนามของคำกริยาซึ่งไม่พบในภาษาอเวสตะ ที่เป็นภาษาพี่น้องของภาษาสันสกฤตพระเวท


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406