ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ชินโต

ชินโต (ญี่ปุ่น: ?? shint? ?) เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน (ญี่ปุ่น: ? shin, kami ?) หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: ?, พินอิน: sh?n, เสิน) และ โต (ญี่ปุ่น: ? t?, do ?) หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: ?, พินอิน: d?o, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า (ญี่ปุ่น: ????? kami no michi ?) นั่นเอง

ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น ซึ่งแตกต่างจากพุทธศาสนาอย่างสิ้นเชิง พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่างๆในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งพุทธศาสนา คริสต์ ลัทธิขงจื๊อ และลัทธิเต๋าได้เริ่มให้มาในดินแดนญี่ปุ่นตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ (ญี่ปุ่น: ??? Kojiki ?) และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ (ญี่ปุ่น: ???? Nihon Shoki ?) ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมได้รวมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องการกำเนิดโลก (อังกฤษ: cosmogony) และเทพนิยาย (อังกฤษ: mythology) ต่างๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ (ญี่ปุ่น: ???? Yamato-minzoku ?) และอิสึโมะ (ญี่ปุ่น: ?? Izumo ?) ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนา เป็นต้น

ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม (อังกฤษ: polytheism) และลัทธิบูชาภูตผี (อังกฤษ: animism) ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า (ญี่ปุ่น: ? kami ?) ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ (อังกฤษ: anthropomorphic deity) หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน

ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (ญี่ปุ่น: ???? Omikuji ?) (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: ?? Hatsum?de ?) ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต

ตำนานเทพนิยายของชินโตจะถูกบันทึกไว้ในคัมภีร์โคะจิคิมันเป็นรูปเขียนของเหตุการณ์ที่นำไปสู่และรวมถึงการสร้างของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีคำแปลหลายเรื่องที่อยู่กับรูปแบบของความซับซ้อน

เกาะญี่ปุ่นจะได้รับการพิจารณาเป็นสวรรค์ของพวกเขาถูกสร้างขึ้นโดยตรงจากพระเจ้าสำหรับประชาชนชาวญี่ปุ่นและถูกบวชโดยสุราสูงที่จะสร้างเป็นอาณาจักรญี่ปุ่น ชินโตเป็นพื้นฐานการเชื่อมต่อระหว่างอำนาจและความงามของธรรมชาติ (ที่ดิน) และชาวญี่ปุ่น มันคือการประกาศของเส้นทางไปสู่ความเข้าใจสถาบันของอำนาจศักดิ์สิทธิ์

คำว่า "ชินโต" นี้ มาซาฮารุ อนาซากิ (Masaharu Anasaki. 1963 : 19 - 23) ได้อธิบายว่า มาจากอักษรจีนสองตัว คือ "เชน" (Shen) ซึ่งแปลว่า "เทพทั้งหลาย" ส่วน "เต๋า" (Tao) แปลว่า "ทาง" รวมความแล้ว แปลว่า "วิถีทางแห่งเทพทั้งหลาย" เพราะชาวญี่ปุ่นบูชาเทพเจ้าเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน เทพเหล่านี้เป็นเทพที่มีอยู่ในธรรมชาติ จะเข้าถึงองค์เทพได้นั้น จะต้องเข้าถึงธรรมชาติชินโตจึงสอนให้บุคคลเคารพในธรรมชาติเพื่อเข้าใจความเป็นชินโตให้มากขึ้น เราจะต้องศึกษาเทพนิยายและตำนานธรรมของคนญี่ปุ่นซึ่งมีมานานก่อนศตวรรษที่ 6 อันเป็นเรื่องราวที่แสดงถึงชาติกำเนิดของคนญี่ปุ่น ซึ่งเชื่อกันว่าสืบสายเลือดมาจากเทพทั้งหลายทั้งปวง เทพเหล่านี้ในภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า "กามิ" (Kami) แต่นักศาสนาบางท่านได้สันนิษฐานว่า กามิ คือ มานา (mana) กามิจะเป็นมานาหรือไม่ ยากที่จะระบุลงไปได้ เพราะแม้แต่นักศาสนาของญี่ปุ่นที่ชื่อ โมโตโอริ โนรินางะ (Motoori Norinaga) ยังไม่ยอมที่จะอธิบายกามิให้มากไปกว่าความหมายซึ่งเป็นที่เข้าใจกันทั่ว ๆ ไป ชินโต (????, shint?, ???) เป็นศาสนาตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น และเคยเป็นศาสนาประจำชาติของประเทศญี่ปุ่นในอดีต ชินโตเป็นศาสนาที่บูชา พระเจ้า หรือที่เรียกว่า คะมิ (?) และวิญญาณในธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น ซุซะโนะโอะ เทพเจ้าแห่งสายฟ้า คำว่าชินโต มาจากภาษาญี่ปุ่นสองคำในอักษรคันจิ คำว่า "ชิน" (?) ที่แปลว่าพระเจ้า และ "โต" (?) ที่หมายถึงวิถีชีวิต ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตหกกดดแกได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอะมิกุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต

ชินโตในระยะแรกไม่มีการสร้างศาลเจ้า จนกระทั่งศตวรรษที่3-4 ในศตวรรษที่4 เมื่อรัฐบาลยะมะโตะรวบรวมญี่ปุ่นจัดตั้งเป็นประเทศได้แล้ว ทำให้ชินโตถูกแบ่งเป็น 2ระดับคือ อะมะทสึ-คะมิ(Amatsu-kami) และ คคุทสึ-คะมิ(Koukutsu-kami)คำสอนอันแรกของชินโตที่ปรากฏขึ้นในกลางสมัยเฮอัน คือ ฮนจิสุยจะขุ(Honjisuijaku) ที่ได้ผนวกคำสอนของนิกายเทนได(Tendai) และ นิกายชินเง็น(Shingen)เข้าไว้ด้วยกัน รวมคำสอนของพระพุทธเจ้ากับเทพเจ้าที่มีมาตั้งแต่สมัยเฮอัน มาแยกเป็นทฤษฎีที่ให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าเป็นหลักและเทพเจ้าสำคัญเป็นรอง โดยกล่าวว่าเทพเจ้าต่างๆในญี่ปุ่นล้วนเป็นปางหนึ่งของพระพุทธเจ้าที่เสด็จลงมาโปรดนั่นเองในสมัยใหม่กลุ่มนิกายเช่น อิเสะ(Ise) โยะชิดะ(yoshida) ฟุคโค(Fukko) ได้สร้างทฤษฎีที่เน้ความเป็นอิสระของชินโต เมื่อเข้าสู่สมัยเมจิได้มีการทำให้คำสอนกับพิธีกรรมของศาลเจ้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยยึดถือพิธีกรรมของพระราชวงศ์เป็นหลัก นักบวชของชินโตมีหน้าที่ประกอบพิธีกรรมเท่านั้น ส่วนประชาชนทุกคนถือเป็นสาวกกลายเป็นคกคะ ชินโต(Kokka Shintou)หรือชินโตที่เป็นของรัฐ หลังสงครามโลก ชินโตแต่ละนิกายได้ถูกบัญญัติให้เป็นศาสนาถูกต้องตาม กฎหมาย จากข้อมูลทางสถิติของกระทรวงวัฒนธรรมของญี่ปุ่น สำรวจโดยอาสาสมัครของศาลเจ้าชินโตในปี ค.ศ.1994

ศาสนาชินโต เกิดขึ้นเนื่องจากเมื่อญี่ปุ่นติดต่อกับจีนได้รับพระพุทธศาสนาและศาสนาขงจื้อเข้ามาผสมกับความเชื่อดั้งเดิมของตนจึงเรียกรวมว่าชิน - เต๋า หรือ ชินโต แปลว่าทางแห่งเทพเจ้าภาษาญี่ปุ่นเรียก กิมิ - โน - มิชิ บ่อเกิดของศาสนาชินโตมาจากประเพณีบูชาบรรพบุรุษ และการครองชีวิตโดยปฏิบัติตามการนำทางของเทพเจ้า เกี่ยวกับเทพนิยายลึกลับซับซ้อน ในนิทานและพงศาวดารของญี่ปุ่น

ศาสนาชินโตไม่มีศาสดา แต่มีจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น ที่สืบสายเลือดมาจากเทพ เป็นประมุขของศาสนา ก่อตั้งจัดอยู่ในประเภท หลักธรรมสำคัญ เทวนิยม บูชาเทพเจ้า เชื่อถือเวทมนตร์ คาถา บูชา ธรรมชาติ บรรพบุรุษ

ในศาสนาเทวนิยมส่วนมากสอนว่า จุดหมายปลาย ทางของชีวิต คือ พระเจ้า แต่ชินโตแม้จะกล่าวว่า วิญญาณเป็นอมตะ คนตายเท่ากับการเปลี่ยนเครื่องแต่งตัวใหม่ ชินโตก็มีการเซ่นสรวงดวงวิญญาณตามโอกาส

ฐานะปัจจุบัน ประเทศให้ทันสมัยอย่างประเทศตะวันตก ได้ ชินโต เป็นศาสนาของชาวญี่ปุ่นโดยเฉพาะนอก ประเทศญี่ปุ่นผู้นับถือส่วนใหญ่จะเป็นผู้มีเชื้อสายญี่ปุ่นที่ไปตั้งรกรากในประเทศนั้น ๆ เช่น ที่ ไปนมัสการไม่น้อยกว่าปีละ 80 ล้านคนในช่วง ฮาวาย บราซิล และ ออสเตรเลีย เป็นต้น

เนื่องจากญี่ปุ่นได้พ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพสัมพันธมิตรจึงประกาศยุบศาสนาชินโต แห่งรัฐเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2488 แต่เรียวหะ ชินโต หรือ ชินโตของราษฎรเนื่องจากไม่มีกิจกรรมเกี่ยวกับสงครามและราชการจึงยังคง ดำเนินประกอบพิธีกรรมได้ตามศรัทธา

เนื่องจากญี่ปุ่น ต้องการปรับปรุง พัฒนาประเทศให้ทันสมัยอย่างประเทศตะวันตก ได้ละทิ้งชินโต อันเป็นรากเหง้า แห่งวัฒนธรรมในอดีตของตนเสีย แต่ศาลแต่ศาลเทพเจ้าก็ยังมีผู้คนเข้าไปนมัสการไม่น้อยกว่าปีละ 80 ล้านคนในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปัจจุบันมีผู้นับถือศาสนาชินโตประมาณ ๓.๒ ล้านคน ปี ๑๙๕๗ มีผู้นับถือศาสนาชินโต มีผู้นับถือศาสนาชินโตในญี่ปุ่น ๗๙ ล้านคน

อันดับแรกของการสักการบูชาเทพเจ้าหรือคามิสามารถปฏิบัติได้ที่ศาลเจ้าสาธาณะหรือศาลเจ้าเล็กๆไว้ที่บ้านหรือที่เรียกว่า คามิดานะ ศาลเจ้าสาธารณะเป็นสิ่งปลูกสร้างไว้เพื่อทำพิธีบูชาสำหรับคามิ จำนวนที่น้อยลงของศาลเจ้านี้ยังมีสถานที่ธรรมชาติที่เรียกว่า โมริ ส่วนที่พบมากที่สุดของโมริเป็นสวนศักดิ์สิทธิ์ของต้นไม้หรือภูเขาหรือน้ำตก ศาลเจ้าทั้งหมดจะเปิดให้ประชาชนเข้ามาทำพิธีบางครั้งหรือตลอดทั้งปี

ถึงแม้ว่าศาลเจ้าสาธารณะมากมายจะมีโครงสร้างที่มีความประณีตทั้งหมดเป็นสถาปัตยกรรมรูปแบบเฉพาะของญี่ปุ่นซึ่งแตกต่างไปตามยุค ด้านหน้าของศาลเจ้าจะมีเสาประตูญี่ปุ่นขนาดใหญ่ซึ่งมีความเด่นเป็นพิเศษ(โทริอิ)ทำจากประตูสลักแบบตั้งสองชิ้นซึ่งแบ่งเป็นช่องธรรมดาและช่องศักดิ์สิทธิ์ ประตูโทริอิมีถึง 20 รูปแบบและเข้ากับฐานโครงสร้างบูชาเทพเจ้าและราชวงศ์ ซึ่งบริเวณหน้าเสาโทริอิจะมีรูปปั้นสิงโตชิสะอยู่เพื่อปกป้องวัดจากความชั่วร้าย

ชินโตสอนว่าการกระทำของคนเราทุกอย่างจะสร้างชนิดของความบริสุทธิ์และความไม่บริสุทธิ์ ที่หนึ่งควรต้องการทำความสะอาดเพื่อความสงบสุขของตัวเองหนึ่งของความคิดและความโชคดีไม่ได้เพราะไม่ถูกต้องในสิ่งที่ไม่บริสุทธิ์และของตัวเอง กระทำผิดจะเรียกว่า (ญี่ปุ่น: "ไม่บริสุทธิ์" ?? คีกาเร่ ?) ซึ่งแปลว่าไม่บริสุทธิ์ ตรงกันข้ามคำว่า (ญี่ปุ่น: "บริสุทธิ์" ?? คิโยมิ ?) โดยวันที่ไม่สำคัญจะเรียกว่า"วัน"(คี)และส่วนในช่วงเทศกาลหรือวันสำคัญจะใช้คำว่า"แสงแดด"ซึ่งอาจมีความหมายว่า สิ่งมี่เป็นมงคลนั่นเอง

ผู้ที่ถูกฆ่าตายโดยปราศจากการแสดงความกตัญญูเพื่อพิธีกรรมสังเวยของพวกเขาจะทำให้อดกลั้นต่อ (ญี่ปุ่น: การเสียใจ ?? เทพเจ้าอูรามิ ?) และกลายเป็นความชั่วร้ายที่มีประสิทธิภาพและอาจจะทำให้เทพเจ้าทรงกริ้วและพยายามที่พยายามแก้แค้น ( aragami ). นอกจากนี้หากใครได้รับบาดเจ็บหรือเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ของศาลเจ้าชินโต ผู้นั้นต้องทำพิธีเพื่อให้วิญญาณบริสุทธิ์

ตามหลักวิถีนักรบที่จารึกไว้ในคัมภีร์โคะจิคิ เมื่อตกเป็นเฉลยศึกในสงครามหรือกระทำผิดจารีตวิถีนักรบ ก็ต้องมีการรักษาเกียรติเอาไว้โดยทำเซ็ปปุกุหรือการคว้านท้องฆ่าตัวตายเพื่อรักษาเกียรติของผู้กระทำเอง

เป็นเรื่องปกติสำหรับครอบครัวที่จะเข้าร่วมในพิธีสำหรับเด็กที่ศาลเจ้า ยังมี งานศพแบบญี่ปุ่นที่เป็นเวลาแห่งความตาย ความคิดของชีวิตภายหลังมรณะญี่ปุ่น แต่อาจจะใช้เวลาเปิดคมชัดไม่ใช่ชาวพุทธ ในตำนานเก่าญี่ปุ่นก็มักจะอ้างว่าคนตายไปที่สถานที่ที่เรียกว่า โยมิ (??), ดินแดนใต้ดินมืดมนกับแม่น้ำแยกชีวิตจากความตาย yomi นี้ อยู่ใกล้กับกรีก เฮเดส

ผู้ใดสามารถต้องการเข้าชมศาลเจ้าชินโตที่สำคัญคือไม่จำเป็นต้องนับถือชินโตก็ได้ โดยทั่วไปมีขั้นตอนเบื้องต้นที่ไปที่ศาลเจ้า

พิธีบริสุทธิ์เป็นพิธีกรรมที่มักจะทำทุกวันที่ศาลเจ้าชินโตและเป็นพิธีของถวายอาหารและตั้งคำอธิษฐานของหลายรูปแบบชินเซน ยกตัวอย่างอาหารบูชาเช่น (อาหารประเภทผลไม้, ปลา, ผัก),ขนมทามากูชิ (Sakaki ต้นไม้), Shio (เกลือ), Gohan (ข้าว), โมชิ และเหล้าสาเก (ไวน์ข้าว) ในวันหยุดและโอกาสพิเศษอื่น ๆ ประตูด้านในศาลเจ้าอาจจะเปิดออกเพื่อให้ผู้ที่นับถือชินโตนำอาหารมาถวาย


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301