ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ค่ายกักกันดาเคา

ค่ายกักกันดาเคา (เยอรมัน: Konzentrationslager (KZ) Dachau) เป็นค่ายกักกันนาซีแห่งแรกที่เปิดในเยอรมนี ตั้งอยู่บนที่ดินของโรงงานผลิตอาวุธร้างใกล้กับเมืองสมัยกลางชื่อว่า ดาเคา ห่างจากเมืองมิวนิกในรัฐบาวาเรียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือราว 16 กิโลเมตร ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคใต้ของเยอรมนี ค่ายนี้เปิดเมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1933 (51 วันหลังฮิตเลอร์ขึ้นสู่อำนาจ) และเป็นค่ายกักกันปกติแห่งแรกที่จัดตั้งโดยรัฐบาลผสมระหว่างพรรคชาติสังคมนิยม (พรรคนาซี) กับพรรคชาตินิยมประชาชนเยอรมัน (ถูกยุบเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1933) ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ หัวหน้าตำรวจเมืองมิวนิก อธิบายค่ายอย่างเป็นทางการว่า "ค่ายกักกันนักโทษการเมืองแห่งแรก"

ดาเคาเป็นต้นแบบและตัวอย่างของค่ายกักกันนาซีแห่งอื่นๆ ที่จะมีขึ้นตามมา แทบทุกชุมชนในเยอรมนีมีสมาชิกถูกนำไปยังค่ายเหล่านี้ หนังสือพิมพ์รายงาน "การย้ายศัตรูของไรช์ไปยังค่ายกักกัน" อย่างต่อเนื่อง และเมื่อ ค.ศ. 1935 ได้มีบทร้อยกรองจิงเกิล (jingle) เตือนว่า: "ข้าแต่องค์พระผู้เป็นเจ้า โปรดให้ข้าพระองค์โง่ เพื่อที่ข้าพระองค์จะได้ไม่ต้องไปดาเคา" (Lieber Gott, mach mich dumm, damit ich nicht nach Dachau kumm)

การจัดการพื้นฐานของค่าย การออกแบบเช่นเดียวกับแผนสิ่งปลูกสร้าง พัฒนาโดย คอมมันดันท์ ธีโอดอร์ ไอคเคอ (Theodor Eicke) และได้ปรับใช้กับทุกค่ายที่สร้างขึ้นภายหลัง เขามีค่ายที่มั่นคงแยกต่างหากใกล้กับศูนย์บัญชาการ ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่อยู่อาศัย ฝ่ายบริหาร และค่ายทหาร ไอคเคอเองกลายมาเป็นหัวหน้าผู้ตรวจการค่ายกักกันทุกแห่ง ซึ่งรับผิดชอบก่อสร้างค่ายอื่นๆ ให้เป็นไปตามแบบของเขา

ค่ายถูกใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1933 ถึง 1960 สิบสองปีแรกใช้เป็นศูนย์กักกันของจักรวรรดิไรช์ที่สาม ระหว่าง ค.ศ. 1933 และ 1938 นักโทษส่วนใหญ่มีเชื้อชาติเยอรมันซึ่งถูกควบคุมตัวด้วยเหตุผลทางการเมือง ภายหลังค่ายถูกใช้สำหรับนักโทษทุกประเภทจากทุกชาติที่ถูกกองทัพไรช์ที่สามยึดครอง นับแต่ ค.ศ. 1945 ถึง 1948 ค่ายดังกล่าวถูกใช้เป็นเรือนจำแก่นายทหารเอสเอสที่รอการพิจารณา หลังจาก ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดให้ประชากรเยอรมันที่ถูกขับไล่จากเชโกสโลวาเกียอาศัยอยู่ในค่าย เป็นฐานของสหรัฐอเมริกา ค่ายดังกล่าวถูกปิดใน ค.ศ. 1960 และนับแต่นั้น ได้มีการก่อสร้างอนุสรณ์สถานขึ้นหลายแห่งที่นั่น ด้วยการยืนกรานของอดีตนักโทษ

ประเมินสถิติลักษณะประชากรมีหลากหลายแต่อยู่ในพิสัยทั่วไปเดียวกัน เราอาจไม่มีวันทราบได้ว่ามีผู้ถูกกักขังหรือเสียชีวิตในค่ายจำนวนเท่าใด เนื่องจากยุคสมัยแห่งความยุ่งเหยิง แหล่งข้อมูลหนึ่งในประมาณการทั่วไปนักโทษกว่า 200,000 คน จากมากกว่า 30 ประเทศระหว่างช่วงจักรวรรดิไรช์ที่สาม สองในสามเป็นนักโทษการเมือง และเกือบหนึ่งในสามเป็นชาวยิว นักโทษ 25,613 คนเชื่อกันว่าเสียชีวิตในค่าย และอีกเกือบ 10,000 คนในค่ายย่อย ส่วนใหญ่เป็นเพราะโรคระบาด ทุพโภชนาการและอัตวินิบาตกรรม ต้น ค.ศ. 1945 มีการระบาดของไข้รากสาดใหญ่ในค่ายเพราะมีการไหลบ่าเข้ามาของนักโทษจากค่ายอื่นจนทำให้เกิดการแออัด หลังมีการอพยพ ซึ่งทำให้นักโทษที่อ่อนแอเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ในช่วงปลายสงครามมีการเดินแถวมรณะ (death march) ออกจากและเข้ามายังค่ายทำให้นักโทษเสียชีวิตจำนวนมาก แต่ไม่ทราบจำนวน แม้หลังมีการปลดปล่อยค่ายแล้ว ก็ยังมีนักโทษที่อ่อนแอเกินกว่าจะมีอาการดีขึ้นเสียชีวิตต่อไป

ในช่วงที่เป็นค่ายกักกันกว่าสิบสองปี ฝ่ายบริหารดาเคาบันทึกการนำเข้านักโทษ 206,206 คน และมีผู้เสียชีวิต 31,951 คน มีการก่อสร้างเมรุเพื่อจัดการกับศพ ไม่มีหลักฐานการสังหารหมู่ภายในค่าย และแม้จะมีการอ้างว่าใน ค.ศ. 1942 นักโทษกว่า 3,166 คนในสภาพอ่อนแอถูกส่งไปยังปราสาทฮาร์ไทม์ใกล้กับลินซ์ และมีการประหารชีวิตด้วยแก๊สพิษด้วยเหตุผลว่า พวกเขามีร่างกายไม่แข็งแรง การวิจัยเดียวกันเตือนว่า แม้จะเป็นข้อมูลจากนักเคลื่อนไหวการล้างชาติโดยนาซีในกรุงเยรูซาเล็ม แต่คำให้การของผู้รอดชีวิตก็มีชื่อเสียว่าเชื่อถือไม่ได้

ฟรินซ์ แกร์ลิก(Fritz Gerlich) เป็นนักข่าวและนักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมัน ผู้มองเห็นความชั่วร้ายของอุดมการณ์ของฮิตเลอร์และพรรคนาซีจึงได้เขียนหนังสือพิมพ์โจมตีฮิตเลอร์และพรรคนาซีตลอดมา หลังจากฮิตเลอร์และพรรคนาซีมีอำนาจในเยอรมนี เขาถูกจับกุมและถูกส่งไปที่ค่ายกักกันดาเคา เขาถูกเจ้าหน้าที่ค่ายกักกันฆ่าตายซึ่งอยู่ในระว่างเหตุการณ์คืนแห่งมีดยาว เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ.1934


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406