ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

คิมิงะโยะ

คิมิงะโยะ (ญี่ปุ่น: ??? Kimi ga Yo ?) เป็นเพลงชาติของประเทศญี่ปุ่น และนับได้ว่าเป็นเพลงชาติที่สั้นที่สุดในโลก โดยมีความยาวเพียง 11 ห้องเพลง มีตัวโน้ตเพียง 40 ตัว เนื้อเพลงนั้นมาจากบทกลอนประเภทวะกะในยุคเฮอังของญี่ปุ่น (ระหว่าง ค.ศ. 794-1185) ส่วนทำนองเพลงนั้น ได้ประพันธ์ขึ้นใหม่ในยุคเมจิ โดยทำนองแรกสุดนั้นประพันธ์โดยนักดนตรีชาวไอริชเมื่อ ค.ศ. 1869 ภายหลังราชสำนักญี่ปุ่นจึงเลือกใช้ทำนองเพลงใหม่ ซึ่งเรียบเรียงโดยนักดนตรีชาวญี่ปุ่น เป็นทำนองของเพลงคิมิงะโยะในปัจจุบัน เมื่อ ค.ศ. 1880

แม้ว่าเพลงคิมิงะโยะจะเป็นเพลงชาติของญี่ปุ่นโดยพฤตินัยมานานแล้วก็ตาม แต่การรับรองฐานะทางกฎหมายเพิ่งจะมีขึ้นในปี ค.ศ. 1999 จากการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยธงชาติและเพลงชาติของญี่ปุ่นในปีนั้น ซึ่งหลังจากการผ่านกฎหมายดังกล่าว ก็ได้มีข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการขับร้องและบรรเลงเพลงชาติในโรเรียนต่าง ๆ ของญี่ปุ่นขึ้น ด้วยเหตุผลเดียวกับธงฮิโนะมารูอันเป็นธงชาติของญี่ปุ่น กล่าวคือ เพลงคิมิงะโยะอ้างถึงในฐานะสัญลักษณ์ของลัทธิจักรวรรดินิยมและลัทธิทหารของญี่ปุ่น

เนื้อร้องของเพลงคิมิงะโยะนั้น เดิมเป็นบทกลอนยุคเฮอังที่ไม่ทราบว่าผู้ใดแต่งไว้ ปรากฏอยู่ในหนังสือโคะคินวะกะชู หรือ "ประชุมบทร้อยกรองแบบวะกะ" ในความเป็นจริงอาจกล่าวได้ว่า ผู้แต่งกวีบทนี้อาจเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในเวลานั้น แต่ชื่อของเขาไม่ได้รับการบรรจุไว้ในหนังสือดังกล่าว เพราะกวีผู้นั้นอาจมีฐานะทางสังคมที่ตำก็ได้ เพราะกวีในยุคนั้นมักจะไม่ใช่ชนชั้นสามัญชน บทกวีคิมิงะโยะนี้ปรากฏอยู่ในประชุมบทร้อยกรองหลายฉบับ และใช้ในยุคต่อ ๆ มาในลักษณะของเพลงเฉลิมแลองของผู้คนในสังคมชั้นสูง ทั้งนี้ ตอนต้นของบทกวีดังกล่าวมีเนื้อหาต่างจากที่ใช้เป็นเพลงชาติในปัจจุบัน โดยฉบับเดิมจะขึ้นต้นว่า "วะ งะ คิมิ วะ" ("Wa ga Kimi wa", "ท่านผู้เป็นนายแห่งข้า") เนื้อร้องของเพลงนี้ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงยุคคามาคุระ (ค.ศ. 1185 - 1333) เป็น "คิมิ งะ โยะ" (แปลตามตัวคือ "สมัยแห่งท่าน") ดังที่รู้จักกันทุกวันนี้

ในปี ค.ศ. 1869 ในช่วงต้นของยุคเมจิ จอห์น วิลเลียม เฟนตัน (John William Fenton) ผู้นำวงโยธวาทิตชาวไอริช ซึ่งได้เดินทางมาเยือนญี่ปุ่น ได้ตระหนักว่าประเทศญี่ปุ่นยังไม่มีเพลงชาติของตนเอง จึงได้แนะนำให้อิวะโอะ โอยะมะ ข้าราชการชาวญี่ปุ่นแห่งแคว้นซัตสึมะ แต่งเพลงชาติขึ้น ซึ่งโอยะมะก็เห็นด้วยและได้เลือกเอาบทกวีคิมิงะโยะมาใช้เป็นบทร้องของเพลงชาติ เป็นไปได้ว่าที่มีการเลือกเอาบทกวีคิมิงะโยะมาใช้ เพราะเนื้อหาของเพลงคล้ายคลึงกับเพลงก็อดเซฟเดอะควีนของอังกฤษ โดยได้รับอิทธิพลทางความคิดจากเฟนตัน หลังจากที่ได้เนื้อร้องแล้ว โอยะมะจึงร้องขอให้เฟนตันช่วยประพันธ์ทำนองเพลง เขาจึงใช้เวลาในการแต่งทำนองเพลง 3 สัปดาห์ และใช้เวลาในการซ้อมนักดนตรีในเวลาไม่กี่วัน ก่อนจะบรรเลงเพลงนี้ต่อเบื้องพระพักตร์ของพระจักรพรรดิในปี ค.ศ. 1870 ทำนองเพลงดังกล่าวนี้คือทำนองฉบับแรกของเพลงคิมิงะโยะ ซึ่งต่อมาได้เลิกใช้ด้วยเหตุผลว่า ทำนองนี้ "ยังขาดความเคร่งขรึม" อย่างไรก็ตาม เพลงคิมิงะโยะทำนองนี้ปัจจุบันยังคงมีการบรรเลงปีละครั้ง ที่ศาลเจ้าเมียวโคจิ เมืองโยโกฮามา ซึ่งเป็นศาลเจ้าที่สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแต่เฟนตัน ผู้ได้รับหน้าที่เป็นผู้นำวงโยธาวาทิตของญี่ปุ่นประจำเมืองนี้

ในปี ค.ศ. 1880 สำนักพระราชวังของญี่ปุ่นได้เลือกทำนองเพลงคิมิงะโยะใหม่ ซึ่งประพันธ์โดย โยะชิอิสะ โอกุ และอะกิโมะริ ฮะยะชิ ผู้ประพันธ์เพลงอีกคนหนึ่งที่มักได้รับการกล่าวถึงรวมอยู่ในกลุ่มผู้แต่งทำนองนี้ด้วย คือ ฮิโระโมะริ ฮะยะชิ ซึ่งเป็นผู้ดูแลงานของทั้งสองคน เป็นพ่อของ อะกิโมะริ ฮะยะชิ อีกด้วย ทั้งนี้ ตัวอะกิโมะริเองก็เป็นลูกศิษย์คนหนึ่งของเฟนตันด้วย แม้ทำนองใหม่นี้จะมีพื้นฐานจากทำนองเพลงของราชสำนักโบราณก็ตาม แต่ก็มีการผสานเข้ากับดนตรีประเภทเพลงสรรเสริญ (hymn) ของชาติตะวันตก และใช้บางส่วนที่เฟนตันได้เรียบเรียงไว้แต่เดิมด้วย โดยฟรานซ์ เอ็คเคิร์ต (Franz Eckert) นักดนตรีชาวเยอรมัน ได้ปรับปรุงทำนองเพลงนี้ให้มีความกลมกลืนแบบตะวันตกมากยิ่งขึ้น นับได้ว่าเป็นการแต่งเพลงคิมิงะโยะฉบับที่ 2 และเป็นฉบับที่ใช้ในปัจจุบัน และนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1893 เป็นต้นมา เพลงคิมิงะโยะบรรจุให้ใช้ในพิธีการของโรงเรียนรัฐบาลด้วยการผลักดันของทางกระทรวงศึกษาธิการญี่ปุ่น เพลงนี้บรรเลงด้วยบันไดเสียง ซี เมเจอร์

ขอแผ่นดินแห่งพระองค์จง อยู่ยงยั้งพันปี แปดพันปี ตราบจนกว่าเมล็ดกรวด เกิดก่อเป็นแท่งภูผา แลปกคลุม ด้วยผืนตะไคร่

ตามรัฐธรรมนูญของญี่ปุ่น ซึ่งได้ตราไว้เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1946 สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นไม่ทรงมีฐานะเป็นองคือธิปัตย์ แต่ทรงเป็นสัญลักษณ์แห่งรัฐและความสามัคคีของชนในรัฐ

ในปี ค.ศ. 1999 ระหว่างการพิจารณากฎหมายว่าด้วยธงชาติและเพลงชาติของญี่ปุ่น มีการตั้งคำถามเกี่ยวกับความหมายอย่างเป็นทางการของคำว่า "คิมิ" และ "คิมิงะโยะ" อยู่หลายครั้ง ในวันที่ 29 มิถุนายนของปีนั้น นายกรัฐมนตรีเคโซ โอะบุชิ จึงได้เอ่ยถึงนิยามของทั้งสองคำไว้ดังนี้

"คิมิ" หมายถึงองค์สมเด็จพระจักรพรรดิ ผู้ทรงเป็นสัญลักษณ์แห่งรัฐและความสามัคคีของชนในรัฐ และพระราชสถานะของพระองค์นั้นได้มาจากฉันทามติของมหาชนชาวญี่ปุ่นผู้ทรงไว้ซึ่งอำนาจอธิปไตย และวลี "คิมิงะโยะ" หมายถึงรัฐของเรา ซึ่งก็คือประเทศญี่ปุ่น ซึ่งสมเด็จพระจักรพรรดิได้ทรงขึ้นครองราชย์ในฐานะสัญลักษณ์แห่งรัฐและความสามัคคีของชนในรัฐ โดยฉันทามติของมหาชนชาวญี่ปุ่น นี่จึงเป็นเรื่องที่มีเหตุผลในการใช้บทร้อง "คิมิงะโยะ" เพื่อแสดงความหมายถึงความปรารถนาให้ชาติของเราดำรงไว้ซึ่งความเจริญรุ่งเรืองและสันติสุขชั่วกาลนาน

กัมพูชา ? กาตาร์ ? เกาหลีเหนือ ? เกาหลีใต้ ? คาซัคสถาน ? คีร์กีซสถาน ? คูเวต ? จอร์เจีย ? จอร์แดน ? สาธารณรัฐประชาชนจีน ? สาธารณรัฐจีน: เพลงชาติ, เพลงธงชาติ ? ซาอุดิอาระเบีย ? ซีเรีย ? ไซปรัส ? ญี่ปุ่น ? ติมอร์-เลสเต ? ตุรกี ? เติร์กเมนิสถาน ? ทาจิกิสถาน ? ไทย ? เนปาล ? บังกลาเทศ ? บาห์เรน ? บรูไน ? ปากีสถาน ? พม่า ? ฟิลิปปินส์ ? ภูฏาน ? มองโกเลีย ? มัลดีฟส์ ? มาเลเซีย ? เยเมน ? รัสเซีย ? ลาว ? เลบานอน ? เวียดนาม ? ศรีลังกา ? สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ? สิงคโปร์ ? อัฟกานิสถาน ? อาเซอร์ไบจาน ? อาร์เมเนีย ? อินเดีย ? อินโดนีเซีย ? อิรัก ? อิสราเอล ? อิหร่าน ? อุซเบกิสถาน ?

เคอร์ดิสถาน (อิรัก, ตุรกี, อิหร่าน, ซีเรีย) ? นากอร์โน-คาราบัค (อาเซอร์ไบจาน) ? ปาเลสไตน์ (ยังเป็นที่ถกเถียง) ? Deg o Tegh o Fateh (ชาวซิกข์) สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ (ยังเป็นที่ถกเถียง) ? ตูวา (รัสเซีย) ? รัฐบาลพลัดถิ่นของทิเบต ? เซาท์ออสซีเชีย (ยังเป็นที่ถกเถียง) ?


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301