ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ความงาม

การจะเข้าใจถึงธรรมชาติและความหมายของความงามนั้น จำเป็นที่จะต้องเข้าใจถึงหลักปรัชญาของสุนทรียศาสตร์ ในสุนทรียศาสตร์นั้นมีนักปรัชญาหลายกลุ่ม รวมถึงกลุ่มที่เชื่อว่าความงามนั้นเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับผู้รับรู้ (subjective) และอีกกลุ่มที่เชื่อว่าความงามนั้นมีค่าที่เที่ยงแท้ (absolute, objective)

นอกจากนั้นยังมีนักปรัชญา เช่น โรเบิร์ต ชูมันน์ (Robert Schumann) ที่เป็นทั้งคีตกวีและนักวิจารณ์ ที่มีความเห็นว่าความงามนั้นจัดได้เป็นสองประเภท คือความงามโดยธรรมชาติ และความงามที่เกิดโดยมนุษย์. ความงามที่เกิดโดยธรรมชาติคือการสัมผัสและรับรู้ถึงสิ่งงามที่ปรากฏในธรรมชาติ แต่ความงามที่เกิดโดยมนุษย์คือสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์และเข้าไปเกี่ยวข้องในธรรมชาติ ชูมันน์ยังบอกอีกว่าในศิลปะ มีความงามทั้งสองชนิดปรากฏอยู่ เพียงแต่ความงามโดยธรรมชาติคือความสุนทรีย์ทางอารมณ์ และความงามที่เกิดโดยมนุษย์คือความเข้าใจในผลงานศิลปะชิ้นนั้น

ทฤษฎีเรื่องความงามนั้นสามารถพบได้ตั้งแต่ยุคสมัยนักปราชญ์กรีกก่อนโสกราตีส เช่น พีทาโกรัส ซึ่งพีทาโกรัสก็ได้สันนิษฐานถึงความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์และความงาม พีทาโกรัสสังเกตว่าสิ่งที่มีสัดส่วนตามสัดส่วนทองคำ การวิจัยในปัจจุบันก็พบว่ามนุษย์ที่มีหน้าตาที่สมดุลและเป็นสัดส่วนตามสัดส่วนทองคำมักจะถูกมองว่างามกว่าคนอื่น ๆ นี่เป็นหนึ่งในทฤษฏีหนึ่งที่อยู่บนพื้นฐานว่าความงามนั้นมีค่าที่เที่ยงแท้และไม่เกี่ยวข้องกับผู้รับรู้

ทฤษฏีที่ว่าความงามนั้นขึ้นอยู่กับผู้รับรู้กล่าวว่า ความงามเป็นเพียงสิ่งที่จิตใจมนุษย์ให้ค่าหรือตัดสิน ฉะนั้นความงามจึงเป็นสิ่งที่จิตสร้างขึ้น และอาจเปลี่ยนแปลงตามสภาวะของคน ๆ ใดคนหนึ่งในเวลาใดเวลาหนึ่ง

ชาวอินเดียโบราณขนานนามความงามว่าเป็นสิ่งที่ใหม่อยู่เสมอ เป็นสิ่งที่นำพาจิตใจออกจากโลกที่เต็มไปด้วยความเก่าแก่และความเบื่อหน่าย

นิยามของความงามยังครอบคลุมถึงคณิตศาสตร์ นักศณิตศาสตร์หรือผู้ที่หลงใหลในตัวเลขสามารถที่จะมีความเพลินและพึงพอใจกับการ "เล่น" หรือ "คำนวณ" คณิตศาสตร์ แม้แต่สูตรคณิตศาสตร์ ยังมีผู้ที่ชื่นชมว่างาม อย่างเช่น e i π + 1 = 0 {\displaystyle e^{i\pi }+1=0\,\!} หรือที่เรียกกันว่า เอกลักษณ์ของออยเลอร์ ยังมีอีกหลายคนที่เห็นความงามเมื่อมองดูวิธีคิดหาคำตอบในคณิตศาสตร์ ดั่งที่เอ็ดน่า เซนท์วินเซนท์ มิลเลย์กล่าวไว้ถึงเรขาคณิตของยุคลิดว่า "มีเพียงยุคลิดที่มองเห็นความงดงามแท้"

ความสัมพันธ์อีกอย่างหนึ่งระหว่างคณิตศาสตร์และความงามคือดนตรี พีทาโกรัสเองมีทฤษฏีเกี่ยวกับวิธีที่ตัวโน้ตสัมพันธ์กันและความยาวของสายที่ให้กำเนิดเสียงนั้น

สัดส่วนทองคำ หรือ Golden Ratio (ซึ่งแทนด้วยตัวอักษรกรีก ฟี Φ) มีค่าประมาณ 1.618:1 และเป็นสัดส่วนที่ผู้คนมักให้ความเห็นว่างาม นั่นคือ สถาปัตยกรรมที่มีสัดส่วนนี้ หรือสิ่งของในธรรมชาติเช่นเปลือกหอยนอติลุส (nautilus) มักดูงามกว่าสิ่งที่ขาดสัดส่วนนี้ไป

การศึกษาวิจัยของมหาวิทยาลัยลอนดอน กิลด์ฮอลล์, มหาวิทยาลัยลอนดอน เมโทรโพลิแทน และสถาบันจอห์นสัน ในปี พ.ศ. 2554 แสดงให้เห็นว่าคนที่หน้าตาดีมักมีรายได้มากกว่าคนที่หน้าตาดีน้อยกว่าถึง 11-15% รวมถึงมักได้รับความช่วยเหลือจากผู้อื่นมากกว่าอีกด้วย

ในปี พ.ศ. 2554 Daniel S. Hamermesh และ Jason Abrevaya จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสติน ได้เผยแพร่บทความวิจัยชื่อ “Beauty is the Promise of Happiness” โดยแสดงให้เห็นว่าคนที่หน้าตาดีมักมีรายได้มากกว่าคนที่หน้าตาดีน้อยกว่า 5% มีระดับความสุขมากกว่าราว 10% มีโอกาสได้รับความใส่ใจจากคนรอบข้างมากกว่า รวมถึงมีโอกาสได้มีคนรักหรือได้แต่งงานสูงกว่าด้วย อย่างไรก็ตามก็มีโอกาสสูงเช่นกันที่จะถูกเหยียดหรือถูกตั้งแง่อคติ กล่าวคือเมื่อมีจุดเด่นด้านรูปลักษณ์ภายนอกแล้วก็อาจถูกมองว่าด้อยในด้านอื่นได้

ตัวละครเอกในงานการแสดงต่าง ๆ มักใช้ผู้แสดงที่มีรูปร่างหน้าตาดี และวงการบันเทิงต่าง ๆ ก็มักเลือกใช้ผู้ที่มีรูปร่างหน้าตาดีเป็นสำคัญ

การศัลยกรรมเพื่อความงามของใบหน้าหรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกายก็ได้รับความนิยมในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ธุรกิจความงามและศัลยกรรมความงามมีมูลค่าตลาดรวมสูงมาก เฉพาะในประเทศไทยมีมูลค่าตลาดรวมไม่น้อยกว่า 20,000 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2555 และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

บทความวิชา ความรู้ และศาสตร์ต่างนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมข้อมูล


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

โดมทองแห่งเยรุซาเล็ม โบสถ์โนเตรอะดาม เซนต์โทมัส อาควีนัส ทัศนศิลป์ ลิแวนต์ อัลจีเรีย อ๊อตโตมาน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ฮอลแลนด์ สะฮารา ทัศนคติ สุนทรียภาพ ประสาท วัฒนธรรมบรรษัท นักสังคมวิทยา กลุ่มวัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมย่อย นักวิทยาศาสตร์สังคม เอ็ดการ์ เดอกาส วัฒนธรรมมวลชน มานุษยวิทยาสังคม มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาสังคม นักโบราณคดี วานรวิทยา ประเพณี นักมานุษยวิทยา วัฒนธรรมนิยม วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมระดับสูง สินค้าบริโภค คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โครงสร้างนามธรรม ประวัติปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันตก ลัทธิสโตอิก ม่อจื่อ จวงจื่อ มีมางสา โยคะ สางขยะ ไวเศษิกะ นยายะ มัธยมกะ โยคาจาร เสาตรานติกะ จารวาก คัมภีร์พระเวท สารัตถะ ความเป็นจริง ปรัชญาตะวันออก สุนทรียศาสตร์ จริยศาสตร์ ความงาม คุณธรรม คุณวิทยา อรรฆวิทยา หนูผี พันเจีย สนามแม่เหล็ก เขตกึ่งร้อน ดาวเคราะห์คล้ายโลก บาป (ศาสนาคริสต์) คริสตชน จดหมายถึงชาวฮีบรู ศรัทธาในศาสนาพุทธ การอนุมาน สัมพัทธภาพทางความรู้ การจัดการความรู้ ทุนทางสังคม การลองผิดลองถูก ประสบการณ์ การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ ญาณวิทยา ความเข้าใจ อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24022