ข้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา
1. หลักเกณฑ์นี้ใช้สำหรับเขียนทับศัพท์คำภาษาเวียดนามที่เขียนด้วยอักษรเวียดนามปัจจุบัน ซึ่งเรียกว่า จื๋อโกว๊กหงือ (ch? Qu?c ng?) หรืออักษรโรมันซึ่งมีเครื่องหมายพิเศษกำกับ ภาษาเวียดนามมีหลายสำเนียง เช่น สำเนียงฮานอย สำเนียงเว้ สำเนียงนครโฮจิมินห์ ฯลฯ ในหลักเกณฑ์นี้จะทับศัพท์ตามสำเนียงฮานอย
3. คำทับศัพท์ที่มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เช่น คำในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง ฯลฯ ให้ใช้ตามประกาศครั้งล่าสุด
4. คำที่ไทยรับมาใช้เป็นเวลานานจนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปแล้ว อาจใช้ต่อไปตามเดิมได้ เช่น ไซ่ง่อน อันนัม เหงียน
6. เสียงพยัญชนะเวียดนาม เทียบได้กับเสียงพยัญชนะไทยทั้งอักษรสูงและอักษรต่ำ ขึ้นอยู่กับเสียงวรรณยุกต์ เช่น
7. การเว้นวรรค คำที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อสถานที่ ชื่อทางภูมิศาสตร์ ฯลฯ ที่เขียนแยกกันในภาษาเวียดนาม เมื่อทับศัพท์ให้เขียนติดกันไป ไม่ต้องแยกคำตามการเขียนในภาษาเวียดนาม เช่น
8. การใช้เครื่องหมายยัติภังค์ คำที่เป็นชื่อเฉพาะในภาษาเวียดนามที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ เมื่อทับศัพท์ให้เขียนเครื่องหมายยัติภังค์ตามการเขียนในภาษาเวียดนาม เช่น
9. การใช้ไม้ไต่คู้ คำทับศัพท์ให้ใช้ไม้ไต่คู้ในกรณีที่มีเสียงสั้น แต่ถ้ามีเครื่องหมายวรรณยุกต์ให้ตัดไม้ไต่คู้ออกตามอักขรวิธีไทยปัจจุบัน เช่น
เกาหลี ? จีน ? ญี่ปุ่น ? ดัตช์ ? ฝรั่งเศส ? พม่า ? ฟิลิปปินส์ ? มลายู ? เยอรมัน ? รัสเซีย ? เวียดนาม ? สเปน ? อังกฤษ ? อาหรับ ? อิตาลี ? ฮินดี
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/การเขียนคำทับศัพท์ภาษาเวียดนาม