ข้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ เว็บไซต์ราชบัณฑิตยสถาน
หน้านี้อธิบายการเขียนคำทับศัพท์ตามโรมะจิ (ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ใช้แทนเสียงภาษาญี่ปุ่น) โดยโรมะจิในปัจจุบันมีอยู่ 3 ระบบในการเขียนได้แก่ นิฮนชิกิ (???) แบบดั้งเดิม, คุนเรชิกิ (???) แบบที่ดัดแปลงจากนิฮงชิกิ และ เฮ็ปเบิร์น (เฮะบนชิกิ, ????) แบบปรับปรุงพัฒนาตามการออกเสียงจริง ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
เสียงตามระบบเฮ็ปเบิร์นเป็นเสียงที่ใกล้เคียงกับการออกเสียงภาษาอังกฤษมากที่สุด โดยในปัจจุบันมีการใช้กันมากที่สุด สำหรับในหนังสือหรือแหล่งอ้างอิงในบางแหล่งอาจจะมีการใช้โรมะจิแบบเก่า ซึ่งเมื่อถอดเสียงต่อมาเป็นภาษาไทย จะทำให้เกิดเสียงเพี้ยนได้ ซึ่งการถอดเสียงภาษาไทย ควรจะอ้างอิงจากตัวอักษรภาษาญี่ปุ่นเอง เช่นคำว่า ภูเขาฟูจิ ในตารางด้านบน รูปแบบของเฮ็ปเบิร์นจะใช้ตัวอย่าง ? แทน aa และ? แทน oo
แยกพยางค์ก่อน เพราะคำในภาษาญี่ปุ่นประกอบด้วย สระ และ/หรือพยางค์ต้น โดยไม่มีพยางค์ท้ายทุกคำเหมือนภาษาไทยยกเว้น ตัว ? (ออกเสียง ง,น,ม) โดยสระที่อยู่ติดแยกคำอ่าน ยกเว้น aa, ei, ou ถือเป็นพยางค์เดียว
เกาหลี ? จีน ? ญี่ปุ่น ? ดัตช์ ? ฝรั่งเศส ? พม่า ? ฟิลิปปินส์ ? มลายู ? เยอรมัน ? รัสเซีย ? เวียดนาม ? สเปน ? อังกฤษ ? อาหรับ ? อิตาลี ? ฮินดี
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/การเขียนคำทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น