ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

การปราบปรามคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

ประเทศสยามเริ่มมีความกังวลเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 7 โดยแก้ไขกฎหมายลักษณะอาญาให้ "การสั่งสอนทฤษฎีการเมืองหรือเศรษฐกิจเพื่อให้บังเกิดความเกลียดชังดูหมิ่นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือเกิดความเกลียดชังระหว่างชนชั้น" เป็นความผิด ปัญหาภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ค่อยรุนแรงขึ้นเป็นลำดับและหมดไปแล้วในปัจจุบัน หลังการยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ใน พ.ศ. 2543

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 มาตรา 104 โดย พระราชบัญญัติแก้ไขกฎหมายลักษณอาญา พ.ศ. 2470 ให้เพิ่ม "การสั่งสอนทฤษฎีการเมืองหรือเศรษฐกิจเพื่อให้บังเกิดความเกลียดชังดูหมิ่นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือเกิดความเกลียดชังระหว่างชนชั้น" เป็นความผิด มีระวางโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกไปโดยประกาศใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499

15 มีนาคม พ.ศ. 2476 สมัยรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะราษฎร ได้เสนอเค้าโครงเศรษฐกิจที่มีการปฏิรูปที่ดินและรัฐสวัสดิการแก่ประชาชน หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" มีผู้วิจารณ์อย่างกว้างขวางและกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ เกิดความแตกแยกในสภา รัฐบาลจึงกำหนดให้ปิดสภา งดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา และยังได้มีการออกกฎหมายเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ขึ้นเป็นฉบับแรกคือ พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2476 จนปรีดีต้องลี้ภัยออกนอกประเทศเมื่อ 12 เมษายน พ.ศ. 2476 ภายหลังรัฐประหารโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2476 จึงได้เชิญปรีดีกลับมา ตั้งกรรมการสอบสวน และให้ปรีดีพ้นผิด ปรีดีปฏิเสธเสมอว่าตนเองไม่ใช่คอมมิวนิสต์แต่เป็น "radical socialist" (นักสังคมนิยมหัวรุนแรง)

ได้มีการปรับแก้กฎหมายคอมมิวนิสต์ฉบับนี้อีกครั้งในปี พ.ศ. 2478 และได้ยกเลิกไปในสมัยรัฐบาลหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ เมื่อ 29 ตุลาคม 2489

ภายใต้รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้มีการออกกฎหมายคอมมิวนิสต์ฉบับใหม่ มีบทลงโทษที่รุนแรงกว่าเดิม และมีนิยามที่กว้างขวางมากขึ้น ได้มีการแก้ไขเรื่อยมาตลอดยุคเผด็จการทหาร ให้อำนาจในการจับกุม ปราบปราม กักขังโดยไม่ต้องแจ้งข้อกล่าวหาได้นานกว่าปรกติ การใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐนอกจากจะเป็นไปในทางปราบปรามคอมมิวนิสต์แล้ว ก็ยังเป็นเครื่องมือในการควบคุมกดขี่ประชาชนได้ตามอำเภอใจ และปิดกั้นไม่ให้มีการใช้สิทธิเสรีภาพโดยเฉพาะในการเขียนและแสดงความคิดเห็นของประชาชนและสื่อมวลชน (รู้จักกันในนาม กฎหมายปราบประชาธิปไตย)

วันเสียงปืนแตก คือ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ซึ่งเป็นวันที่พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยใช้อาวุธโจมตีกองกำลังรัฐบาลไทยเป็นครั้งแรก กองกำลังของพรรคได้เรียกตนเองว่า กองทัพปลดแอกประชาชนแห่งประเทศไทย (ทปท.) เหตุเกิดที่ บ้านนาบัว ตำบลเรณูนคร อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ทั้งนี้ได้ประกาศยุทธศาสตร์ "ต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธ ใช้ชนบทล้อมเมือง และยึดเมือง" หลังจากวันเสียงปืนแตก พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยก็ต่อสู้ด้วยอาวุธกับรัฐบาลไทยมาตลอด จนกระทั่งปี พ.ศ. 2525 รัฐบาลยื่นข้อเสนอและเจรจา เลิกต่อสู้กันด้วยอาวุธ ให้มาต่อสู้กันทางรัฐสภาแทน

ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาเป็นยุคสั้น ๆ ที่ประชาธิปไตยกลับคืนสู่ประเทศไทย ได้มีผลงานของนักคิดนักเขียนต่างๆ ออกมาอย่างเสรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชเดินทางไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นประเทศคอมมิวนิสต์ เข้าพบประธานเหมา เจ๋อตุง ในปี พ.ศ. 2518 เป็นสัญลักษณ์ของการเปิดสัมพันธไมตรีกับกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์อีกครั้ง และขบวนการนักศึกษายังได้กดดันให้รัฐบาลไทยมีคำสั่งให้สหรัฐอเมริกาถอนกำลังทหารออกจากประเทศไทยหลังสงครามเวียดนาม

ภายใต้รัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้มีการดำเนินนโยบายปราบปรามคอมมิวนิสต์อย่างเด็ดขาด แก้ไขพระราชบัญญัติป้องกันกระทำเป็นคอมมิวนิสต์ กำหนดเขตแทรกซึมของคอมมิวนิสต์และกำหนดมาตรการรุนแรงในการปราบปราม แก้ไขประมวลกฎหมายอาญาเพิ่มโทษข้อหาหมิ่นประมาทและหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ และตั้งศาลพิเศษดำเนินคดีกับนักศึกษาและประชาชนที่อยู่ในเหตุการณ์ 6 ตุลา มีการใช้อำนาจตาม คำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินฉบับที่ 42 ปิดสื่อ หนังสื่อพิมพ์ โดย สมัคร สุนทรเวช เป็นผู้พิจารณาการอนุญาตสิ่งพิมพ์

ด้วยนโยบายขวาจัดนี้จึงทำให้นักศึกษาและปัญญาชนหลบหนีเข้าป่าเพราะเกรงกลัวการจับกุม โดยไปเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีได้มีคำสั่งดั่งกล่าวเมื่อ 23 เมษายน พ.ศ. 2523 ใจความสำคัญคือใช้การเมืองนำการทหาร มุ่งเน้นขจัดความไม่เป็นธรรมในสังคม และ "ปฏิบัติต่อผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์หรือผู้หลงผิดที่เข้ามอบตัว หรือที่จับได้อย่างเพื่อนประชาชนร่วมชาติ ชี้แจงเพื่อให้ได้เข้าใจถึงนโยบายของรัฐบาลในปัญหานี้อย่างถ่องแท้ช่วยเหลือให้ใช้ชีวิตใหม่ร่วมกันต่อไปในสังคมอย่างเหมาะสม"

คำสั่งนี้เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญจากนโยบายขวาจัดของรัฐบาลก่อนหน้ามาสู่การประนีประนอม อย่างไรก็ตามการปฏิบัติให้เป็นผลนั้นกินระยะเวลาหลายปี

สมัยรัฐบาลชวน หลีกภัย รัฐสภาได้เห็นชอบให้ประกาศใช้ พระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2543 เป็นผลให้การกระทำเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ไม่เป็นความผิดในประเทศไทยอีกต่อไป และหน่วยงานภาครัฐไม่ต้องมีคณะกรรมการเฝ้าระวังและหมดอำนาจพิเศษในการจับกุมปราบปรามผู้ต้องหาคดีคอมมิวนิสต์

มีบทบังคับอื่นๆ ครอบคลุมถึงการควบคุมผู้ต้องหาไว้เป็นเวลานานโดยไม่ส่งฟ้อง การชันสูตรพลิกศพผู้ต้องสงสัยอย่างไม่โปร่งใส และการจำกัดสิทธิเสรีภาพสื่อมวลชน

(มีการแก้ไขต่อมาอีก 3 ฉบับแล้วจึงถูกยกเลิกไปโดยนำไปรวมกับพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2512)


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301