การบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ เป็นการใช้เมแทบอลิซึมของจุลินทรีย์กำจัดสารมลพิษ เทคโนโลยีการบำบัดมีสองประเภทได้แก่
ตัวอย่างของการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ เช่น การใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ การบำบัดสารมลพิษที่ปนเปื้อนที่ระเหยได้น้อย การกำจัดโลหะหนักโดยจุลินทรีย์ เทคโนโลยีการบำบัดสารมลพิษบนดิน ระบบบำบัดแบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพ วิธีการหมักขยะอินทรีย์ การเติมจุลินทรีย์เพื่อบำบัดสารมลพิษ ระบบการบำบัดสารมลพิษจากแหล่งน้ำด้วยกระบวนการกรองด้วยพืชและจุลินทรีย์ การบำบัดสารมลพิษโดยกระตุ้นทางชีวภาพ
การบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพสามารถเกิดขึ้นได้เอง (การบำบัดสารมลพิษตามธรรมชาติหรือการบำบัดโดยธรรมชาติ) หรือสามารถกระตุ้นการย่อยสลายให้เพิ่มมากขึ้น (การบำบัดสารมลพิษโดยกระตุ้นทางชีวภาพ)
เมื่อไม่นานมานี้มีการประสบความสำเร็จในการเพิ่มสายพันธุ์จุลินทรีย์ ที่มีความสามรถในการย่อยสลายสารปนเปื้อน การใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพคือ bioremediators
เมื่อใดก็ตามที่มีการปรับสภาพของการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพโดยใช้จุลินทรีย์ สำหรับตัวอย่าง โลหะหนัก เช่น แคดเมียม และตะกั่ว ที่ไม่ดูดซึมได้ง่ายหรือเข้าจับโดยจุลินทรีย์ การดูดซึมของโลหะหนักอย่างเช่นปรอทในสายใยอาหารที่ต่ำกว่า การใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษเป็นประโยชน์ในสภาวะแวดล้อมนี้เพราะว่าพืชในธรรมชาติ หรือพืชที่ได้รับการปรับปรุงทางพันธุวิศวกรรม สามารถที่จะมีการเก็บสะสมทางชีววิทยาของสารพิษเหล่านี้ในส่วนเหนือพื้นดิน สำหรับการเก็บกำจัดทิ้ง
โลหะหนักจากการเก็บเกี่ยวชีวมวลซึ่งต่อไปจะมุ่งเน้นไปที่การเผาให้เป็นเถ้าถ่านหรือการรีไซเคิลสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม การกำจัดสารมลพิษในบริเวณที่กว้างและของเสีย จากสิ่งแวดล้อมต้องเพิ่มความเข้าใจจากความสัมพันธ์ที่สำคัญของกระบวนการที่แตกต่างกันและการควบคุมระบบคาร์บอนไดออกไซด์ ในองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมและสำหรับสารประกอบและสิ่งเหล่านั้นจะเร่งให้เกิดการพัฒนาของเทคโนโลยีการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพและกระบวนการเปลี่ยนโดยวิธีทางชีวภาพ
การใช้วิธีการทางพันธุวิศวกรรมในการสร้างสิ่งมีชีวิตที่มีความจำเพาะสำหรับการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพแบคทีเรียDeinococcus radiodurans (ความต้านทานรังสี) มีการแก้ไขเพื่อใช้และย่อยโทลูอีน และไอออนิก ปรอทจากการกระตุ้นรังสีนิวเคลียร์ของของเสีย
การใช้ฟังไจเพื่อกำจัดของเสีย เป็นรูปแบบการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพด้วยการใช้ฟังไจในการขจัดสารปนเปื้อน Mycoremediation
การใช้ฟังไจเพื่อกำจัดของเสียหมายถึง ลักษณะเฉพาะในการใช้เห็ดรา mycelia ในการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ สิ่งหนึ่งที่เป็นหลักพื้นฐานของฟังไจในระบบนิเวศ คือการย่อยสลายที่ดำเนินการโดย mycelium ซึ่งจะหลั่งเอนไซม์และกรดออกมาภายนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายลิกนิน และเซลลูโลสซึ่งเป็นสองส่วนประกอบหลักในเส้นใยพืช สารประกอบอินทรีย์เหล่านี้เป็นสายโซ่ยาวของคาร์บอน และไฮโดรเจนซึ่งโครงสร้างคล้ายสารประกอบอินทรีย์ ที่เป็นสารมลพิษอื่นๆ
ส่วนสำคัญของการใช้ฟังไจเพื่อกำจัดของเสียเป็นตัวกำหนดสปีชีส์ที่เหมาะสมของเชื้อราในการเป็นเป้าหมายที่มีความจำเพาะของสารมลพิษบางสายพันธุ์มีรายงานการประสบความสำเร็จในการลดค่า VX และ sarin หนึ่งขั้นตอนการทดลองที่กำหนดโดยปนเปื้อนของดินจากน้ำมันดีเซลด้วยเชื้อ mycelia จากเห็ดซึ่งรูปแบบเดิมของเทคนิคการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ (bacteria) เป็นการใช้แบบควบคุมหลังจากสี่สัปดาห์มากกว่า 95% ของ PAH มีการรีดิวซ์ส่วนประกอบที่ปลอดสารพิษในเชื้อ mycelia ซึ่งปรากฏในธรรมชาติของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ฟังไจในการย่อยสลายสารปนเปื้อนในส่วนสุดท้ายจะได้คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ฟังไจที่ย่อยสลายเนื้อไม้โดยเฉพาะจะมีผลในการย่อยสลายอะโรมาติกของสารมลพิษ (ส่วนประกอบที่เป็นพิษของปิโตรเลียม และสารประกอบคลอรีน Battelle, 2000)
การมีค่าตัวเลข/ประสิทธิภาพการได้เปรียบของการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ ด้วยความสามารถของการทำงานในพื้นที่ที่ไม่สามารถเข้าถึงได้การขุดเอาดินไปบำบัด ในตัวอย่างการรั่วไหลของไฮโดรคาร์บอน (โดยชนิดการรั่วไหล ก๊าซโซลีน) หรือสารละลายคลอรีนที่ปนเปื้อนแหล่งน้ำและการนำวิธีการรับหรือให้อิเล็กตรอนซึ่งเป็นวิธีการที่สำคัญในการรีดิวซ์ความเข้มข้นของสารปนเปื้อนเป็นเวลานานหลังจากการปรับตัวให้ชินกับ สภาพแวดล้อมใหม่ ชนิดของการบำบัดแบบนี้มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าการขุดเอาดินไปบำบัดที่อื่น เทคโนโลยีการบำบัดขยะมูลฝอย หรือการบำบัดแบบ ex situ และการรีดิวซ์ หรือการกำจัดที่ต้องการสำหรับการใช้ปั๊ม และการtreat ข้อปฏิบัติพื้นฐานที่มีไฮโดรคาร์บอนโดยทำความสะอาดแหล่งน้ำที่มีสารปนเปื้อน
กระบวนการบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพสามารถตรวจสอบโดยทางอ้อมด้วยการหาค่าออกซิเดชัน รีดักชัน หรือ รีดอกซ์ในดินและในแหล่งน้ำ พร้อมทั้ง พีเอช อุณหภูมิ ออกซิเจนในตัวรับอิเล็กตรอน/ตัวให้ความเข้นข้นและความเข้มข้นของการย่อยสลายผลผลิต อย่างเช่น คาร์บอนไดออกไซด์
อ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้ที่ http://th.wikipedia.org/wiki/การบำบัดสารมลพิษทางชีวภาพ