ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

การต่อต้านยิว

การต่อต้านยิว (อังกฤษ: Antisemitism หรือ Anti-semitism หรือ anti-Semitism หรือ Judeophobia) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายความเป็นอคติ (prejudice) ต่อหรือความรู้สึกต่อต้านชาวยิว ที่มักจะมาจากความมีอคติต่อศาสนา, วัฒนธรรม และชาติพันธุ์ของชาวยิว

แม้ว่าที่มาของคำว่า “ลัทธิความเป็นอคติต่อเซมิติค” ในภาษาอังกฤษ “Antisemitism” ตามอักขระแล้วจะหมายถึงความเป็นอคติต่อชนเซมิติค (Semitic peoples) แต่โดยทั่วไปคำนี้จะหมายถึงเฉพาะความเป็นอคติต่อชาวยิวตั้งแต่เริ่มใช้กันมา

ความเป็นอคติต่อชาวยิวอาจจะออกมาในรูปแบบหลายอย่างตั้งแต่การแสดงการต่อต้านหรือความชิงชังอย่างไม่มีเหตุผลอันเหมาะสมต่อชาวยิวเพียงคนเดียวที่แสดงออกโดยแสดงความเกลียดชังหรือการเลือกปฏิบัติ ไปจนถึงการรวมตัวของกลุ่มชนที่บางครั้งก็อาจจะถึงระดับรัฐ, ตำรวจ หรือทหารในการสร้างความเสียหายและทำร้าย (pogroms) กลุ่มชนชาวยิวทั้งกลุ่ม

เหตุการณ์การไล่ทำร้ายและสังหาร (persecution) ที่เป็นที่รู้จักกันก็รวมทั้งสงครามครูเสดครั้งที่หนึ่งในปี ค.ศ. 1096, การขับไล่ชาวยิวออกจากอังกฤษในปี ค.ศ. 1290, การไต่สวนศรัทธาของสเปน (Spanish Inquisition), การขับไล่ชาวยิวออกจากสเปน (Alhambra decree) ในปี ค.ศ. 1492, การขับไล่ชาวยิวออกจากโปรตุเกส ในปี ค.ศ. 1497, โพกรมต่างๆในประวัติศาสตร์ และที่สำคัญที่สุดคือโครงการการล้างชาติพันธุ์ภายใต้การนำของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในนาซีเยอรมนี

นักประวัติศาสตร์โรมันคาทอลิกเอ็ดเวิร์ด แฟลนเนอรี (Edward Flannery) แบ่งลักษณะของความเป็นอคติต่อชาวยิวเป็นสี่อย่าง:

ในคริสต์ทศวรรษ 1990 นักเขียนบางคนก็อ้างว่าพบหัวข้อความอคติใหม่อีกลักษณะหนึ่งที่ออกมาในรูปของความเป็นอคติที่มาจากทั้งนักการเมืองทั้งฝ่ายซ้ายจัด, ฝ่ายขวาจัด และฝ่ายอิสลามหัวรุนแรงพร้อมๆ กัน ซึ่งความอคติจากกลุ่มนี้เน้นความเป็นปฏิปักษ์ต่อไซออนนิสม์ และการตั้งถิ่นฐานในมาตุภูมิของชาวยิวในประเทศอิสราเอล

ที่มาของคำว่า “ความเป็นอคติต่อชาวยิว” ในภาษาอังกฤษ “antisemitic” (antisemitisch) อาจจะใช้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1860 โดยผู้คงแก่เรียนชาวออสเตรียิวมอริทซ์ ชไตน์ชไนเดอร์ (Moritz Steinschneider) ในวลี “antisemitic prejudices” (เยอรมัน: "antisemitische Vorurteile") (ความมีอคติต่อชาวเซมิติค) ชไตน์ชไนเดอร์ใช้วลีนี้ในการบรรยายความคิดของเอิร์นเนสต์ เรนัน (Ernest Renan) ที่กล่าวถึงสาเหตุที่ว่า “ชนเซมิติค” มีลักษณะต่ำกว่า “ชนอารยัน” ทฤษฎีเคลือบแคลงทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับชาติพันธุ์, วัฒนธรรม และ “ความก้าวหน้า” เหล่านี้แพร่หลายไปทั่งยุโรปในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะเมื่อนักประวัติศาสตร์ชาตินิยมชาวปรัสเซียไฮน์ริค ฟอน ไทรท์สเคอ (Heinrich von Treitschke) เผยแพร่ปรัชญาการดูถูกชาติพันธุ์อย่างกว้างขวาง สำหรับไทรท์สเคอแล้วคำว่า “เซมิติค” ก็คือไวพจน์ของคำว่า “ชนยิว”

ในปี ค.ศ. 1873 นักหนังสือพิมพ์ชาวเยอรมันวิลเฮล์ม มารร์ (Wilhelm Marr) พิมพ์จุลสารชื่อ “ชัยชนะของของความเป็นยิวต่อของความเป็นเยอรมัน. ข้อสังเกตจากความเห็นนอกกรอบความคิดทางศาสนา” (“Der Sieg des Judenthums ?ber das Germanenthum. Vom nicht confessionellen Standpunkt aus betrachtet”) ที่มารร์ใช้คำว่า “ชนเซมิติค” (Semitismus) และคำว่า “ชนยิว” แลกเปลี่ยนกัน แม้ว่ามารร์จะไม่ได้ใช้คำว่า “Antisemitismus” หรือ “ความมีอคติต่อชนเซมิติค” ในจุลสาร การใช้คำหลังนี้ก็ตามมาโดยธรรมชาติจากคำว่า “Semitismus” แสดงความเป็นปฏิปักษ์ต่อชนยิวในฐานะกลุ่มชน หรือความเป็นปฏิปักษ์ต่อความเป็นยิว หรือความเป็นปฏิปักษ์ต่อปรัชญาของความเป็นยิว ที่มารร์เห็นว่าเป็นสิ่งที่แทรกซึมเข้ามาในวัฒนธรรมเยอรมัน ในจุลสารฉบับต่อมา “ทางสู่ชัยชนะของความเป็นเยอรมันต่อความเป็นยิว” (The Way to Victory of the Germanic Spirit over the Jewish Spirit) ที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 1880 มารร์ขยายความคิดเพิ่มขึ้นและเริ่มใช้คำภาษาเยอรมัน “Antisemitismus” (ความมีอคติต่อชาวเซมิติค) ที่มาจากคำว่า “Semitismus” ที่ใช้ในจุลสารฉบับแรก

จุลสารกลายมาเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ในปีเดียวกันมารร์ก็ก่อตั้ง “กลุ่มสันนิบาตผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อเซมิติค” (Antisemiten-Liga) ซึ่งเป็นองค์การเยอรมันองค์การแรกที่มีจุดประสงค์ในการต่อต้านสิ่งที่กลุ่มเห็นว่าเป็นอันตรายต่อประเทศเยอรมนีและวัฒนธรรมเยอรมันที่มาจากชาวยิวและอิทธิพลของชาวยิว และสนับสนุนโครงการโยกย้ายประชากร (Population transfer) ด้วยกำลังออกจากเยอรมนี

เท่าที่ทราบคำว่า “ความมีอคติต่อชาวเซมิติค” เริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1881 เมื่อมารร์พิมพ์ “Zwanglose Antisemitische Hefte” และวิลเฮล์ม เชอร์เรอร์ ใช้คำว่า “Antisemiten” ใน “สิ่งพิมพ์เสรีใหม่” (Neue Freie Presse) ฉบับเดือนมกราคม


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301