ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา

การจัดอันดับสถานศึกษา การจัดอันดับ (ranking) หรือการให้คะแนน (rating) หลักสูตรหรือสถานศึกษานั้น มีขึ้นเพื่อเป็นชี้ถึงจุดเด่นจุดด้อยของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพการศึกษา คุณภาพงานวิจัย การยอมรับของผู้จ้างงาน งบประมาณการศึกษา เครือข่ายศิษย์เก่า ความเป็นนานาชาติ สัดส่วนนักศึกษาต่อผับในเมือง จำนวนผู้ได้รับรางวัลโนเบล ฯลฯ

การจัดอันดับของแต่ละสำนักนั้น จะให้น้ำหนักความสำคัญกับแต่ละตัวชี้วัดแตกต่างกันไปตามประเภทและวัตถุประสงค์ของการจัดอันดับ เช่น โดยทั่วไป ในการจัดอันดับหลักสูตรบริหารธุรกิจ (MBA) จะให้ความสำคัญกับเครือข่ายศิษย์เก่า มากกว่าในการจัดอันดับสถาบันเทคโนโลยี หรือ ในการจัดดับหลักสูตรระดับปริญญาตรี จะให้ความสำคัญกับชีวิตความเป็นอยู่ระหว่างศึกษา มากกว่าในการจัดอันดับหลักสูตรระดับปริญญาโทหรือเอก

ตัวชี้วัดที่นำมาใช้ในการจัดอันดับนั้นสามารถแบ่งได้สองประเภทใหญ่คือ แบบอัตวิสัย (subjective) และแบบภววิสัย (objective) โดยแบบแรกนั้นเป็นลักษณะความคิดเห็น เช่น ชื่อเสียงวิชาการในหมู่เพื่อนร่วมอาชีพ ความพอใจของผู้จ้างงาน ส่วนแบบหลังนั้นเป็นข้อมูลที่วัดได้โดยตรง เช่น ขนาดแบนด์วิธอินเทอร์เน็ต จำนวนนักศึกษาต่ออาจารย์

ข้อมูลที่นำมาคำนวณหรือประมวลเป็นตัวชี้วัดนั้น ได้มาจากแหล่งข้อมูลหลายประเภท เช่น ทำการสำรวจ ค้นหาจากสิ่งตีพิมพ์/เว็บไซต์ หรือสอบถามโดยตรงกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานรับผิดชอบของแต่ละประเทศ โดยแหล่งข้อมูลแต่ประเภทก็จะใช้แรงงาน เวลา และค่าใช้จ่ายไม่เท่ากัน รวมถึงมีความครอบคลุมและความน่าเชื่อถือต่างกันไป และแหล่งข้อมูลบางประเภทอาจเหมาะกับตัวชี้วัดชนิดหนึ่งแต่ไม่เหมาะกับตัวชี้วัดอีกชนิดหนึ่ง เหล่านี้เป็นปัจจัยในการเลือกใช้แหล่งข้อมูลของสำนักจัดอันดับ เป็นตัวชี้ว่า ผลการจัดอันดับนั้นน่าเชื่อถือเพียงใด

การให้ความสำคัญของอันดับสถานศึกษานั้นแตกต่างกันไปตามประเทศ โดยในสหราชอาณาจักร หนังสือพิมพ์หลายฉบับมีการจัดอันดับสถานศึกษา โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี มีการพิมพ์เป็นคู่มือจำนวนหลายร้อยหน้าทุก ๆ ปี ส่วนในระดับบัณฑิตศึกษา มีหน่วยงานรับผิดชอบของรัฐโดยเฉพาะในการให้คะแนนสถาบันอุดมศึกษาในด้านคุณภาพการศึกษาและคุณภาพการวิจัย ส่วนในสหรัฐอเมริกา อันดับสถานศึกษาส่งผลเลือกเข้าเรียนของนักเรียน ในขณะที่ในบางประเทศไม่มีการจัดอันดับสถานศึกษา

ในประเทศไทย ได้ริเริ่มให้ 2 หน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย คือ หน่วยงานสมศ. (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา-องค์การมหาชน) โดยมีวัตถุประสงค์ในการประเมินตนเองและประกันคุณภาพ และ หน่วยงาน สกอ. (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา)เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจให้กับนักเรียนที่จะใช้ในการเลือกสอบเข้าเรียนในสถาบันต่างๆ

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีการประเมินสถานศึกษาทั่วประเทศ ทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา และจะเริ่มคะแนนสถาบันอุดมศึกษาในปีการศึกษา 2549 โดยเมื่อเดือนมีนาคม 2549 การประเมินภายนอกรอบแรก (รอบ พ.ศ. 2544 - 2548) ของสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศได้เสร็จสิ้นแล้ว

หนังสือพิมพ์ไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ (Times Higher Education Supplement) จากสหราชอาณาจักร จัดอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลก 200 อันดับ ทั้งแบบโดยภาพรวมและแบบแบ่งตามสาขาวิชา มีตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ (ในวงเล็บคือสัดส่วนในการคิดคะแนนรวม):

The Academic Ranking of World Universities โดย มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ของประเทศจีน เป็นการจัดอันดับที่มักจะได้รับการกล่าวถึงควบคู่ไปกับการจัดอันดับของ THES และได้รับการอ้างอิงในบทความของนิตยสาร The Economist หลายครั้ง ได้เริ่มจัดอันดับมาได้เพียง 2 ครั้ง คือ ปี ค.ศ. 2004 และ ค.ศ. 2005 และมีการปรับเปลี่ยนตัวชี้วัดและอัตราส่วน ทำให้แต่ละครั้งมีตัวชี้วัดไม่เหมือนกัน โดยให้น้ำหนักไปที่งานวิจัยและศักยภาพทางวิชาการที่สามารถวัดได้ (ภววิสัย) โดยเกณฑ์ล่าสุดนั้น ให้คะแนนด้านวิชาการ 4 ด้าน (เพิ่มศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์เข้าไป จากเดิมมีแค่ด้านวิทยาศาสตร์อย่างเดียว) ด้านละ 20%, ศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัลเกียรติยศ 10%, และอัตราส่วนผลงานวิจัยต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 10%

หากพิจารณาถึงความสามารถด้านวิชาการโดยรวมของทุกสาขาวิชา การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของสำนักนี้ เชื่อว่ามีความน่าเชื่อถือ เพราะเป็นการจัดอันดับคุณภาพเชิงปริมาณโดยรวมทุกสาขาวิชา โดยจัดอันดับแยกเป็นหมวดตามภูมิภาคดังนี้

ตัวชี้วัด Webometrics นั้นจัดทำขึ้นเพื่อแสดงความตั้งใจของสถาบันต่าง ๆ ในการเผยแพร่ความรู้สู่เว็บ และเป็นความริเริ่มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความรู้อย่างเปิดกว้าง (Open Access) ทั่วโลก อันดับ Webometrics จะบอกถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน เพื่อใช้ร่วมกับตัวชี้วัดอื่น ๆ ในการประเมินผลงานวิจัยของสถาบัน

สำหรับประเทศไทย มีการจัดสถาบันอุดมศึกษาไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในปี พ.ศ. 2549, สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาซึ่งมีหน้าที่ในการประเมินคุณภาพการศึกษาของประเทศ รวมทั้งระดับอุดมศึกษาด้วย และ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มีหน้าที่ในการประเมินการปฏิบัติหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษาขของรัฐเป็นประจำทุกปี นอกจากนี้ ยังมีการประเมินคุณภาพงานวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาไทยโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ซึ่งจะประเมินคุณภาพงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาไทยด้วย


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406