ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

การคูณของทูม-คุก

การคูณของทูม-คุก (อังกฤษ: Toom–Cook multiplication) ตั้งชื่อตามผู้คิดค้นคือ อังเดร ทูม และ สตีเฟน คุก บางครั้งอัลกอลิทึมนี้จะถูกเรียกว่า ทูม - 3 ซึ่งเป็นวิธีการ คูณเลขจำนวนเต็มขนาดใหญ่ 2 จำนวน

ถ้าเรามีเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวนขนาดใหญ่ให้ชื่อว่า a{\displaystyle a} กับ b{\displaystyle b} และทั้งสองค่านี้จะถูกแบ่งเป็นส่วนย่อยๆจำนวน k{\displaystyle k} ส่วน และความยาว l{\displaystyle l} โดยอัลกอลิทึมของ ทูม - 3 เสนอว่าให้แบ่งจำนวนเหล่านี้เป็นส่วนย่อยจำนวน 3 ส่วน (k=3){\displaystyle (k=3)} เพื่อให้ความซับซ้อนของวิธีนี้ลดลง แต่ในความจริงแล้วเราสามารถที่จะแบ่งจำนวนนี้ได้มากกว่า 3 ส่วน แต่ความซับซ้อนของอัลกอลิทึมก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน

อัลกอลิทึมทูม - 3 นี้ จะช่วยลดการคูณเลขจากการคูณเลขแบบปกติจำนวน 9 ครั้งเหลือเพียง 5 ครั้งเท่านั้น ทำให้เวลาลดลงจาก ?(nlog?log?){\displaystyle \Theta (n^{\frac {\log}{\log}})} มีค่าประมาณ ?(n2){\displaystyle \Theta (n^{2})} เหลือเพียง ?(nlog?log?){\displaystyle \Theta (n^{\frac {\log}{\log}})} มีค่าประมาณ ?(n1.465){\displaystyle \Theta (n^{1.465})} ซึ่งกระบวนการนี้หาได้จากวิธีการคำนวณ ทูม - k คือ ?(c(k)ne){\displaystyle \Theta (c(k)n^{e})} เมื่อ e=log?(2k?1)log?(k){\displaystyle e={\frac {\log(2k-1)}{\log(k)}}} โดยส่วนของ ne{\displaystyle n^{e}} คือเวลาของการคูณส่วนย่อยหรือส่วนของอัลกอลิทึมของทูม และ c(k){\displaystyle c(k)} คือเวลาที่ใช้ไปกับการคูณจำนวนขนาดเล็กย่อยๆซึ่งเป็นกระบวนการทำอัลกอลิทึมนี้นั่นเอง ซึ่งหากเราใช้ ทูม - 3 แล้วจะได้ e=log?(2?3?1)log?{\displaystyle e={\frac {\log(2\times 3-1)}{\log}}} และ c=1{\displaystyle c=1} นั่นก็คือ ?(nlog?log?){\displaystyle \Theta (n^{\frac {\log}{\log}})} หากเราสนใจอัลกอลิทึมของ คารัทซูบา คือกรณีพิเศษของทูมอัลกอลิทึม ที่แบ่งจำนวนเป็น 2 ส่วน(k=2){\displaystyle (k=2)} นั่นเอง จะทำให้ใช้เวลาเท่ากับ ?(nlog?log?){\displaystyle \Theta (n^{\frac {\log}{\log}})} ซึ่งมีค่าประมาณ ?(n1.585){\displaystyle \Theta (n1.585)} และถ้าเราสนใจการคูณแบบปกติทั่วไป คือกรณีของ ทูม - 1 โดยเสียเวลาเท่ากับ ?(n2){\displaystyle \Theta (n2)} จะสังเกตได้ว่าถ้าเราเพิ่ม k{\displaystyle k} ไปเรื่อยๆจะสามารถทำให้ค่า e{\displaystyle e} เข้าใกล้ 1 ได้ซึ่งจะเป็นเวลาในอุดมคติมาก คือ ?(n){\displaystyle \Theta (n)} แต่ในความจริงแล้วมันจะทำให้ส่วนของค่า c(k){\displaystyle c(k)} เพิ่มขึ้นจากที่เดิมเป็น 1 นั่นเอง จากข้อจำกัดนี้ทำให้ เราแบ่งเลขได้เพียงไม่กี่ส่วนเท่านั้น การนำอัลกอลิทึมนี้ถูกจำกัดให้ใช้กับเลขนาดกลาง -ใหญ่เพราะถ้าเราไปใช้กับเลขนาดเล็กจะใช้เวลามากกว่าการคูณแบบปกติ และอัลกอลิทึมนี้ถูกแทนที่ด้วยอัลกอลิทึมที่เร็วกว่านั่นคือ สตราเซน อัลกอลิทึม นั่นเอง

อังเดร ทูมได้เผยแพร่อัลกอลิทึมนี้ในปี 1963 หลังจากนั้น สตีเฟน คุก ได้มาปรับปรุงเพิ่มเติมในปี 1966

ในกรณีของการใช้เลขขนาดใหญ่ เราจะแทนจำนวนเหล่านี้เป็นบล็อกหรือช่วงย่อยๆโดยอาจจะใช้เลขฐานเข้ามาช่วยเพื่อให้ง่ายคำนวณโดยในตัวอย่างนี้จะ ให้ส่วยย่อยๆมีขนาด 4 หลักหรือให้ตัวแปร b{\displaystyle b} เป็นเลขฐานที่มีขนาด 10000 (b=10000){\displaystyle (b=10000)} จะทำให้เลขเป็นดังนี้

จากตัวอย่างนี้ใช้เลขขนาดเล็กเพื่อง่ายทำความเข้าใจ เลขนี้ถือว่ามีขนาดเล็กมากในการใช้อัลกอลิทึมนี้ ดังนั้นหากเราใช้การคูณเลขแบบปกติจะมีความเร็วมากกว่า

หลังจากที่เราแบ่งเลขเป็นส่วนย่อยๆแล้ว เราต้องมาหาฐานที่แท้จริงในการแบ่งเลขนี้ออกเป็นส่วนๆของการใช้อัลกอลิทึม ทูม - คุก นี้ ซึ่งก็คือเราต้องการแบ่งออกเป็น 3 ส่วนในแต่ละจำนวน ซึ่งหาค่าฐานได้จาก B=bi{\displaystyle B=b^{i}} โดย B{\displaystyle B} จะเป็นฐานที่ใช้จริงๆ ส่วน b{\displaystyle b} คือฐานที่แบ่งไว่ในช่วงต้น และเราสามารถหาค่า i{\displaystyle i} ได้จาก

ในตัวอย่างนี้เราจะหาค่า i{\displaystyle i} ได้เท่ากับ 6 ดังนั้นฐานที่ใช้จริงคือ B=b63=108{\displaystyle B=b^{\frac {6}{3}}=10^{8}} ซึ่ง b{\displaystyle b} คือที่แบ่งไว้ช่วงต้นคือ 104{\displaystyle 10^{4}} จากนั้น ให้เราทำการแบ่งเลข 2 จำนวนนี้ใหม่เป็นเลขฐาน 108{\displaystyle 10^{8}} จะได้จำนวนใหม่ดังนี้

จากนั้นเราใช้เลขเหล่าไปเป็นสัมประสิทธิ์ของสมการพนุนามกำลัง k-1 เราใช้ ทูม - คุก ที่ใช้ k = 3 ดังนั้นจะเป็นสมการพหุนามกำลัง 2 โดยให้ p (B) = m และ q (B) = n

ในกรณีที่ไม่แบ่งส่วนเป็นจำนวนเท่ากัน คือแบ่งเลขทั้ง 2 จำนวนให้จำนวนส่วนไม่เท่ากันเช่น แบ่งเป็น 3 ส่วน กับ 2 ส่วน ในกรณีนี้จะเรียกว่า Toom-2.5 เวลาหาค่า i จะหาจาก

หลังจากที่เราจัดรูปเลขให้อยู่ในรูปของพหุนามเราต้องการหา r (x) ที่เป็นพหุนามที่เกิดจากการคูณกันของ p (x) และ q (x) โดบเราจะใช้วิธีการดังนี้ โดยปกติแล้วจำนวนพจน์ของพหุนามหาได้จาก เลขกำลังของพหุนาม +1 (บวกเพิ่มอีกหนึ่ง) เช่น สมการพหุนามกำลัง 1 หรือสมการเส้นตรง จะมีจำนวนพจน์คือ 2 และ กำลังของพหุนามที่เกิดจากพหุนามย่อยมาคูณกันหาได้จากกำลังของพนุนามย่อมบวกกัน เช่น พหุนามกำลัง 2 คูณกับ พหุนามกำลัง 2 จะได้ผลลัพธ์ของออกมาเปนพนุนามกำลัง 4 ซึ่งมีทั้งหมด 4+1 พจน์ ดังนั้น หากเราต้องการสร้างพหุนาม r ที่มีทั้งหมด 5 พจน์ เราต้องการหาค่าทั้งหมด 5 ครั้งเพื่อหาค่ามีแทนในแต่ละตัวประกอบในแต่ละพจน์ของมัน โดยเราใช้เลขอะไรก็ได้ แต่เพื่อความง่ายคำนวณเราจะใช้ 0,1,-1,-2 และ ? ในกรณีหลังที่แทนด้วย ? จะให้ค่าที่ออกมาเป็นสัมประสิทธิ์ของพจน์ที่กำลังสูงสุดเสมอ เมื่อนำไปแทนจะได้ค่าดังนั้น

เราสามารถนำเสนอการแทนค่าเหล่านนี้ในรูปแบบของแมกทริกส์ได้ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากนำไปคำนวณต่อ

เราสามารถทำการคำนวณให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้นได้โดยเรากำหนด p0 ขึ้นมาใหม่เพราะในความจริงแล้วเลขจะใหญ่มากกว่านี้ และหากให้อัลกอลิทึมของทูม - คุก แล้วก็จะแทนค่าแบบนี้ทุกครั้งเพื่อความรวดเร็วในการคำนวณ และเหตุผลที่ทำไมไม่เลือกใช้ 2 แทน ? เพราะให่สังเกตการแทนค่า 2 ลงไป จำเป็นที่ต้องเกิดการคูณเกิดขึ้นทำให้เสียเวลาในช่วงนี้

เราจำเป็นที่ต้องการหาพหุนาม r(x){\displaystyle r(x)} ที่เกิดจาก p(x)q(x){\displaystyle p(x)q(x)} ในขั้นตอนนี้เราจะทำการคูณ p{\displaystyle p} และ q{\displaystyle q} ในเลขที่แทนในแต่ละตัว เพื่อเอาไปใช้ในการคำนวณต่อ จะสังเกตได้ว่าในขั้นตอนนี้เกิดการคูณเกิดขึ้น ถ้าเลขของเรานั้นยังมีขนาดใหญ่เราจะไม่ทำการคูณแบบปกติ (Multiplication algorithm) จนกว่าจะมีค่าที่เล็กพอ ถ้าไม่ทำเช่นนั้น จะไม่มีประโยชน์เลยที่เราหาผลคูณโดยอัลกอลิทึมนี้ ดังนั้นเราจะใช้วิธีการเรียกซ้ำไปเข้าในอัลกอลิทึมนี้อีกเพื่อไปใช้กับผลคูณย่อยเหล่านี้

จะสังเกตได้ว่าขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่เสียเวลามากที่สุดเพราะต้องเสียเวลาไปกับการคูณแบบปกติหรือกับการเรียกซ้ำ

จากขั้นตอนที่แล้วที่ได้ค่าของการแทนค่าในพนุนาม r{\displaystyle r} มาแล้วหากเรามีใส่ในรูปของแมกทริกส์ ในขั้นตอนนี้เราต้องการที่จะหาค่าย้อนกลับไปเพื่อจะหาสัมประสิทธิ์ของพหุนาม r{\displaystyle r} จะได้ดังนี้

เราสามารถใช้วิธีต่างๆมาเพื่อหา สัมประสิทธิ์เหล่านี้ เช่นวิธีการกำจัดของเกาเซียน (Gaussian elimination) แต่วิธีนี้จะเสียเวลาค่อนข้างสูงดังนั้นเราจะวิธีหาอินเวิร์ทแทนจะได้แมกทริกซ์ดังนี้

จะเห็นได้ว่าหลังจากอินเวิร์ทแมกทริส์แล้วจะมีบางกรณีที่เป็นเศษส่วน ถ้าหากเราคำนวณโดยใช้คมพิวเตอร์จะปัดเศษที่เกิดจากการหารที่ไม่ลงตัวออกอัตโนมัติอยู่แล้ว ถัดมาเราต้องการหาค่าสัมประสิทธิ์หากเราทำการคูณแมกทริส์แบบปกติเลยนั้นจะเสียเวลาอย่างมาก ในการหาค่า r1r2r3{\displaystyle r_{1}r_{2}r_{3}} และเลขอาจคลาดเคลื่อนได้ ดังนั้น จึงไปใช้วิธีการของ โบดราโต ในการคำนวณช่วงนี้ โดยทำตามลำดับดังนี้

จะได้พนุนาม r{\displaystyle r} ออกมาดังนี้ ถ้าหากเราใช้ การแบ่งส่วนในช่วงแรกในลักษณะที่จำนวนส่วนไม่เท่ากันแล้ว แมกทริกส์ที่ได้ออกมา ผลคูณในขั้นย่อยและวิธีการคำนวณจะต่างกันทำให้อาจไม่สามารถใช้วิธีที่กล่าวออกมาได้ และที่สำคัญที่สุด กระบวนการเหล่านี้ ไม่ขึ้นอยู่กับ ค่าที่ป้อนเข้ามา จึงอาจทำให้ยากกำหนดค่าต่างๆ

สุดท้ายเราสามารถที่จะหาผลลัพธ์จากการคูณเลขขนาดใหญ่ 2 จำนวน จาก r (B) แทนค่า B ลงไป พนุนาม r ซึ่ง B คือฐานที่ได้หาจากขั้นตอนแรก ซึ่งทำโดย เลื่อนค่า ตามกำลังของเลขฐานแล้วเอาผลมารวมกันดังนี้ (b = 104 and B = b2 = 108)

ทูม -1 คือการแบ่งค่าออกเป็น 1 ส่วนทั้ง 2 ค่า (km = kn = 1) มี 1 พจน์ เลือกค่า 0 นำไปแทน จะเป็นลักษณะการคูณแบบปกติ

ทูม -1.5 คือการแบ่งค่าออกเป็น 2 ส่วนค่าหนึ่งและอีกค่าหนึ่ง 1ส่วน (km = 2, kn = 1) มี 2 พจน์ เลือกค่า 0 และ ? นำไปแทน

ทูม - 2 คือการแบ่งค่าออกเป็น 2 ส่วนทั้งสองจำนวน (km = 2, kn = 2) มี 3 พจน์ เลือกค่า 0, 1 และ ? นำไปแทน เป็นอัลกอลิทึมของคารัสสุบา (Karatsuba multiplication)

ทูม - 2.5 คือการแบ่งค่าออกเป็น 3 ส่วนและอีกค่าหนึ่งจำนวน 2 ส่วน (km = 3, kn = 2) มี 4 พจน์ เลือกค่า 0, 1, -1 และ ? นำไปแทน


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301