ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

การกล้ำสัญญาณ

การกล้ำสัญญาณ หรือ (อังกฤษ: Modulation) ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และ โทรคมนาคม การ (ควบ) กล้ำสัญญาณเป็นกระบวนการของการปรับเปลี่ยนลักษณะสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายๆอย่างของรูปสัญญาณคลื่นพาห์ (สัญญาณที่เป็นตัวขนส่งความถี่สูง) ด้วยสัญญาณข้อมูลที่จะถูกส่งผ่าน เช่น กระแสบิตดิจิตอล (อังกฤษ: digital bit stream)หรือสัญญาณเสียงอนาล็อก การกล้ำสัญญาณรูปคลื่นไซน์จะแปลงสัญญาณข้อความ baseband เป็นสัญญาณ passband

โมดูเลเตอร์เป็นอุปกรณ์กล้ำสัญญาณ, demodulator (บางครั้งเรียกว่า demod) เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานตรงกันข้ามกับการกล้ำส้ญญาณ, โมเด็ม (จาก modulator-demodulator) สามารถทำงานได้ทั้งสองอย่าง

จุดมุ่งหมายของการกล้ำสัญญาณดิจิตอลคือการโอนย้ายกระแสบิตดิจิตอลผ่านช่อง bandpass แอนะล็อก ตัวอย่างเช่นผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์ (PSTN) (ที่ซึ่งตัวกรอง bandpass จะจำกัดช่วงความถี่ไว้ที่ 300-3400 Hz ซึ่งเป็นความถี่เสียงที่มนุษย์ได้ยิน) เช่น บริการ ADSL หรือ ผ่านทางแถบความถี่วิทยุที่มีอยู่อย่างจำกัด

จุดมุ่งหมายของการกล้ำสัญญาณอะนาล็อกคือการโอนย้ายสัญญาณแอนะล็อก baseband (หรือ lowpass) เช่นสัญญาณเสียงหรือสัญญาณทีวี ผ่านช่องทาง bandpass แบบอะนาล็อกที่ความถี่ที่แตกต่างกันเช่นในช่วงแถบความถี่วิทยุที่จำกัดหรือช่องทางเครือข่ายเคเบิลทีวี

การกล้ำสัญญาณแอนะล็อกและดิจิตอลช่วยอำนวยความสะดวกในการมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ (อังกฤษ: Frequency Division Multiplex) หรือ FDM ที่หลาย ๆ สัญญาณข้อมูลความถี่ต่ำที่ผ่านการกรองมาแล้วจะถูกโอนพร้อมกันผ่านทางสื่อทางกายภาพเดียวกันที่ใช้ร่วมกัน โดยใช้ช่อง passband แยกจากกัน (หลายความถี่คลื่นพาหะที่แตกต่างกัน)

จุดมุ่งหมายของวิธีการกล้ำสัญญาณดิจิทัล baseband หรือที่เรียกว่า line coding ก็เพื่อถ่ายโอนกระแสบิตดิจิตอลผ่านช่องทางเบสแบนด์ โดยทั่วไปก็คือลวดทองแดงที่ไม่กรอง เช่นบัสแบบอนุกรมหรือสายแลน

จุดมุ่งหมายของวิธีกล้ำสัญญาณกระตุก (อังกฤษ: pulse) เพื่อถ่ายโอนสัญญาณอนาล็อกแบนด์แคบ เช่น สัญญาณเสียงพูดโทรศัพท์ ผ่านช่องสัญญาณ baseband แถบกว้าง หรือในบางรูปแบบส่งผ่านเหมือนเป็นกระแสบิตผ่านระบบการส่งผ่านดิจิตอลอื่น

ในตัวสังเคราะห์เพลง, การกล้ำสัญญาณอาจถูกใช้ในการสังเคราะห์รูปคลื่นต่าง ๆ ด้วยคลื่น ความถี่เสียงกว้างโดยใช้ oscillator จำนวนน้อย ในกรณีนี้ความถี่คลื่นพาหะโดยทั่วไปจะ อยู่ในลำดับเดียวกันหรือต่ำกว่าสัญญาณที่มากล้ำมาก ๆ ดูตัวอย่าง frequency modulation synthesis หรือ ring modulation synthesis

ในการกล้ำสัญญาณแอนะล็อก การกล้ำจะถูกนำไปใช้อย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองต่อสัญญาณข้อมูลแอนะล็อก เทคนิคการกล้ำแบบแอนะล็อกที่พบบ่อย คือ

ในการกล้ำสัญญาณดิจิตอล คลื่นพาห์แบบแอนะล็อกจะถูกกล้ำโดยสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง วิธีการกล้ำดิจิตอลถือได้ว่าเป็นการแปลงดิจิตอลให้เป็นอะนาล็อก และ การ demodulation ที่สอดคล้องก็คือการแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิตอล การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณคลื่นพาห์จะถูกเลือกจากจำนวนที่แน่นอนของสัญลักษณ์ (อังกฤษ: symbol) M (อักษรที่ถูกกล้ำ)

ตัวอย่างเช่น สายโทรศัพท์ถูกออกแบบมาสำหรับการถ่ายโอนเสียงออดิโอ เช่น โทนเสียง และไม่ใช่บิตดิจิตอล (ศูนย์กับหนึ่ง) อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์อาจสื่อสารผ่านสายโทรศัพท์ด้วยวิธีการของโมเด็ม ซึ่งแทนบิตดิจิตอลด้วยโทนเสียงที่เรียกว่า สัญลักษณ์ ถ้ามีสี่สัญลักษณ์ (ตรงกับเครื่องดนตรีที่สามารถสร้างเสียงที่แตกต่างกันสี่อย่าง อย่างละครั้ง) สัญลักษณ์แรก อาจจะเป็นบิตลำดับ 00, ลำดับที่สองเป็น 01, ลำดับที่สามเป็น 10 และ ลำดับที่สี่เป็น 11 ถ้าโมเด็มเล่นเพลงประกอบด้วยอัตรา 1000 เสียงต่อวินาที อัตราสัญลักษณ์ก็จะมี 1000 สัญลักษณ์/วินาที หรือบอด เนื่องจากแต่ละโทนเสียง (เช่นสัญลักษณ์) หมายถึงข้อความที่ประกอบด้วยสองบิตดิจิตอลในตัวอย่างนี้ อัตราบิตจึงเป็นสองเท่าของอัตราสัญลักษณ์ นั่นคือ 2000 บิตต่อวินาที สิ่งนี้จะคล้ายกับเทคนิคที่ใช้โดยโมเด็ม dialup ซึ่งตรงข้ามกับโมเด็ม DSL

อ้างอิงถึงคำนิยามอันหนึ่งของสัญญาณดิจิตอล, สัญญาณที่ถูกกล้ำจะเป็นสัญญาณดิจิตอล และอ้างถึงข้อกำหนดอื่น การกล้ำเป็นรูปแบบของการแปลงดิจิตอลให้เป็นแอนะล็อก ตำรา ส่วนใหญ่จะพิจารณารูปแบบการกล้ำดิจิตอลว่าเป็นรูปแบบของการส่งผ่านดิจิตอล (อังกฤษ: digital transmission)ที่มีความหมายเหมือนกับการส่งผ่านข้อมูล (อังกฤษ: data transmission); น้อยมากที่จะพิจารณาว่ามันเป็นการส่งผ่านแบบแอนะล็อก (อังกฤษ: analog transmission)

ใน QAM สัญญาณ inphase (หรือ I กับหนึ่งตัวอย่างที่เป็นรูปคลื่นโคไซน์) และ สัญญาณ quadrature phase อีกหนึ่งตัว (หรือ Q , กับอีกหนึ่งตัวอย่างเป็นคลื่นไซน์) จะเป็นการกล้ำแบบ AM ที่มีตัวเลขที่แน่นอนของความสูง แล้วนำมาบวกกัน มันจะสามารถเห็นได้ว่าเป็นระบบสองช่องทาง แต่ละช่องทางใช้ ASK ผลของสัญญาณที่ได้เทียบเท่ากับการรวมกันของ PSK และ ASK

ในทุกวิธีการข้างต้น แต่ละเฟสเหล่านี้ ความถี่หรือความสูงของคลื่นได้ถูกมอบหมายให้มีรูปแบบที่ไม่ซ้ำกันของบิตไบนารี โดยปกติ ในแต่ละเฟส ความถี่หรือความสูงจะเข้าระหัสเป็นจำนวนของบิตที่เท่ากันอันหนึ่ง ที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่เป็นตัวแทนจากเฟสใดเฟสหนึ่งที่เป็นความถี่หรือความสูง

ถ้าตัวอักษรประกอบด้วย M = 2 N {\displaystyle M=2^{N}} สัญลักษณ์ทางเลือก แต่ละสัญลักษณ์แทนหนึ่งข้อความ ที่ประกอบด้วย N บิต ถ้าอัตราสัญลักษณ์(หรือเรียกว่าอัตราการรับส่งข้อมูล(อังกฤษ: baud rate)) เป็น f S {\displaystyle f_{S}} สัญลักษณ์/วินาที (หรือ บอด) อัตราการข้อมูลจะเป็น N f S {\displaystyle Nf_{S}} บิต/วินาที

ตัวอย่างเช่น สำหรับตัวอักษรที่ประกอบด้วย 16 สัญลักษณ์ แต่ละสัญลักษณ์ถูกแทนค่าด้วย 4 บิต ดังนั้นอัตราข้อมูลจึงเป็นสี่เท่าของอัตราบอด

ในกรณีของ PSK, ASK หรือ QAM ที่ซึ่งความถี่คลื่นพาห์ของสัญญาณกล้ำจะเป็นค่าคงที่ ตัวอักษรที่ถูกกล้ำมักจะแสดงเพื่อความสะดวกบนแผนภาพ constellation diagram ที่แสดง ความสูงของสัญญาณ I ที่แกน x และความสูงของสัญญาณ Q ที่แกน y สำหรับแต่ละสัญลักษณ์

คำว่า การกล้ำ baseband ดิจิตอล (หรือการส่ง baseband ดิจิตอล) หรือ line coding เป็นวิธีการถ่ายโอนกระแสบิตดิจิตอลผ่านช่อง baseband อนาล็อก (ช่อง lowpass) โดยใช้ขบวนของพั้ลส์ เช่นคือจำนวนที่ไม่ต่อเนื่องของหลายระดับสัญญาณ โดยกล้ำแรงดันหรือกระแสในสายเคเบิลโดยตรง ตัวอย่างที่ใช้ทั่วไปคือ unipolar, non-return-to-zero (NRZ), แมนเชสเตอร์และเครื่องหมายอื่นผกผัน (AMI) codings


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

นิกายมหายาน พอลลา อับดุล ศาสนายูดา โดมทองแห่งเยรุซาเล็ม โบสถ์โนเตรอะดาม เซนต์โทมัส อาควีนัส ทัศนศิลป์ ลิแวนต์ อัลจีเรีย อ๊อตโตมาน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ฮอลแลนด์ สะฮารา ทัศนคติ สุนทรียภาพ ประสาท วัฒนธรรมบรรษัท นักสังคมวิทยา กลุ่มวัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมย่อย นักวิทยาศาสตร์สังคม เอ็ดการ์ เดอกาส วัฒนธรรมมวลชน มานุษยวิทยาสังคม มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาสังคม นักโบราณคดี วานรวิทยา ประเพณี นักมานุษยวิทยา วัฒนธรรมนิยม วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมระดับสูง สินค้าบริโภค คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โครงสร้างนามธรรม ประวัติปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันตก ลัทธิสโตอิก ม่อจื่อ จวงจื่อ มีมางสา โยคะ สางขยะ ไวเศษิกะ นยายะ มัธยมกะ โยคาจาร เสาตรานติกะ จารวาก คัมภีร์พระเวท สารัตถะ ความเป็นจริง ปรัชญาตะวันออก สุนทรียศาสตร์ จริยศาสตร์ ความงาม คุณธรรม คุณวิทยา อรรฆวิทยา หนูผี พันเจีย สนามแม่เหล็ก เขตกึ่งร้อน ดาวเคราะห์คล้ายโลก บาป (ศาสนาคริสต์) คริสตชน จดหมายถึงชาวฮีบรู ศรัทธาในศาสนาพุทธ การอนุมาน สัมพัทธภาพทางความรู้ การจัดการความรู้ ทุนทางสังคม การลองผิดลองถูก ประสบการณ์ การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ ญาณวิทยา ความเข้าใจ อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24025