ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

กลไกทางประสาทของการเจริญสติ

ในสาขาจิตวิทยาของชาวตะวันตก สติ (อังกฤษ: Mindfulness) ซึ่งสามารถฝึกได้โดยเ เป็น "การเพ่งความใส่ใจของตนไปที่อารมณ์ ความคิด และความรู้สึกในกายที่เกิดขึ้นในขณะนี้ โดยตั้งใจ โดยยอมรับ โดยไม่ตัดสิน" เป็นการปฏิบัติที่มาจากการเจริญสติในพุทธศาสนา และสร้างความนิยมในประเทศตะวันตกโดย ศ. ดร. จอน คาแบต-ซินน์ ผู้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์ เป็นหลักปฏิบัติที่มีหลักฐานแล้วว่า มีผลดีต่อปัญหาทางจิตเวชหลายอย่าง เช่น ความเศร้าซึม และดังนั้นจึงมีการประยุกต์ใช้โปรแกรมบำบัดรักษาโดยใช้สติ ตัวอย่างของโปรแกรมเหล่านี้รวมทั้ง mindfulness-based cognitive therapy (ตัวย่อ MBCT แปลว่าการบำบัดทางประชานอาศัยการฝึกสติ), และ mindfulness-based stress reduction (ตัวย่อ MBSR แปลว่า การลดความเครียดอาศัยสติ) ความสามารถประยุกต์ใช้การเจริญสติในการบำบัดรักษา เป็นเรื่องที่มีหลักฐานชัดเจนแล้ว และก็มีงานศึกษาหลายงานที่พยายามจะแยกแยะองค์ประกอบของการเจริญสติ แต่ว่า กลไกการออกฤทธิ์ (Mechanism of action) ที่เป็นรากฐานทางสมองของการเจริญสติและมีผลบำบัดรักษา ยังเป็นเรื่องที่ยังไม่มีการศึกษาละเอียดดี

มีการเสนอองค์ประกอบสี่อย่าง ว่าเป็นกลไกการออกฤทธิ์ของการเจริญสติ คือ การควบคุมความใส่ใจ การสำนึกในกาย การควบคุมอารมณ์ และการเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับตน (เกี่ยวกับอัตตา) ซึ่งล้วนแต่เป็นองค์ประกอบที่สืบเนื่องกัน คือ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเกิดสิ่งเร้าภายนอก การควบคุมการใส่ใจจะช่วยรักษาความมีสติไว้ จะมีสำนึกทางกายที่ดีขึ้น เช่นสำนึกถึงใจที่เต้นเร็วขึ้น ซึ่งปกติจะเป็นเหตุให้เกิดปฏิกิริยาทางอารมณ์ แต่ปฏิกิริยาทางอารมณ์จะควบคุมได้ดีขึ้น ทำให้ปฏิกิริยาไม่เกิดเป็นนิสัย แต่จะเปลี่ยนไปตามของประสบการณ์แต่ละขณะ ซึ่งในที่สุดจะนำไปสู่การเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับตน (เกี่ยวกับอัตตา)

การควบคุมการใส่ใจเป็นวิธีการใส่ใจในวัตถุ โดยสำนึกและยอมรับได้เมื่อมีใจแวบไปทางอื่น แล้วกลับมาใส่ใจที่วัตถุอีกครั้งหนึ่ง หลักฐานบางส่วนเกี่ยวกับกลไกที่เป็นฐานของการควบคุมการใส่ใจระหว่างการเจริญสติ มีดังต่อไปนี้

ACC มีหน้าที่ตรวจจับข้อมูลที่ขัดแย้งกันที่มาจากตัวกวนสมาธิ เมื่อบุคคลมีสิ่งเร้าที่ขัดแย้งกัน สมองอาจจะประมวลสิ่งเร้าได้อย่างไม่ถูกต้องในเบื้องต้น ซึ่งทำให้เกิดสัญญาณทางสมองแบบ error-related negativity (ERN) แต่ก่อนที่ ERN จะถึงระดับขีดเริ่มเปลี่ยน ส่วนสมองที่เรียกว่า frontocentral N2 จะตรวจจับความขัดแย้งกันได้ และเมื่อแก้ข้อมูลที่ประมวลผิดแล้ว ACC ส่วนหน้า (rostral) ก็จะทำงาน จึงเกิดความใส่ใจในสิ่งเร้าอย่างถูกต้อง ดังนั้น การเจริญสติอาจจะใช้รักษาโรคที่เกี่ยวกับความใส่ใจเช่น สมาธิสั้นและโรคอารมณ์สองขั้วได้

ความสำนึกในกาย หมายถึงการพุ่งความสนไปที่สิ่งที่รับรู้หรือภารกิจภายในกาย เช่น การหายใจ ผู้เจริญสติ 10 ท่านให้คำตอบในการสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ เป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้

insula มีหน้าที่เกี่ยวกับการสำนึกรู้สิ่งเร้า และความหนาของเนื้อเทามีสหสัมพันธ์กับความแม่นยำในการตรวจจับสิ่งเร้าของระบบประสาท เนื่องจากยังไม่มีหลักฐานเชิงปริมาณที่แสดงว่า การเจริญสติมีผลสำนึกรู้ทางกาย เรื่องนี้จึงยังไม่เข้าใจกันดี

อารมณ์สามารถควบคุมได้โดยทางประชานหรือทางพฤติกรรม การควบคุมทางประชาน (cognitive regulation) โดยนัยของการเจริญสติ หมายถึงการควบคุมการให้ความใส่ใจกับสิ่งเร้าหนึ่ง ๆ หรือหมายถึงการเปลี่ยนการตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น ๆ ความเปลี่ยนแปลงทางประชานนี้ทำโดย reappraisal (การประเมินใหม่) คือการมองสิ่งเร้าในทางบวก และ extinction (การระงับ) คือการเปลี่ยนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าไปในทางตรงกันข้าม ส่วนการควบคุมทางพฤติกรรม (behavioral regulation) หมายถึงการห้ามการแสดงออกของพฤติกรรมบางอย่างเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า งานวิจัยบอกเป็นนัยว่า มีกลไกสองอย่างที่การเจริญสติมีอิทธิพลตอบสนองทางอารมณ์ต่อสิ่งเร้า

คอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้าด้านข้าง (Lateral prefrontal cortex ตัวย่อ lPFC) สำคัญใส่ใจแบบคัดเลือก ในขณะที่คอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนบน (ventral prefrontal cortex ตัวย่อ vPFC) มีหน้าที่ระงับการตอบสนอง และดังที่กล่าวมาแล้วว่า ACC มีส่วนในการรักษาความใส่ใจที่สิ่งเร้า และอะมิกดะลามีหน้าที่ทำให้เกิดอารมณ์ ดังนั้น จึงเชื่อกันว่า การเจริญสติสามารถควบคุมความคิดเชิงลบ และลดระดับการตอบสนองทางอารมณ์ โดยผ่านเขตต่าง ๆ ของสมองเหล่านี้ ความบกพร่องในการควบคุมอารมณ์ จะเห็นได้ในโรคบางอย่างเช่น ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง และโรคซึมเศร้า และโรคหลายอย่างเช่นนี้ สัมพันธ์กับ PFC ที่ทำงานลดลง และกับอะมิกดะลาที่ทำงานสูงขึ้น ดังนั้น การเจริญสติอาจจะช่วยทำให้โรคดีขึ้น

รู้กันแล้วว่าความเจ็บปวดจะกระตุ้นให้เขตสมองเหล่านี้ทำงาน คือ ACC, insula cortex ด้านหน้าและหลัง (anterior/posterior), Somatosensory cortex ทั้งระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ, และทาลามัส การเจริญสติอาจจะมีกลไกหลายอย่างที่ช่วยให้บุคคลสามารถควบคุมความเจ็บปวดเหนือสำนึกได้

งานศึกษาแรกพบว่า ผู้เจริญสติไม่แตกต่างในความไวต่อความเจ็บปวด แต่ต่างกันที่การคาดหวังความเจ็บปวด แต่งานศึกษาที่สองแสดงว่า ผู้เจริญสติประสบความเจ็บปวดน้อยกว่า ผลงานศึกษาที่ขัดแย้งกันนี้อาจแสดงว่า กลไกการทำงานของการเจริญสติ อาจขึ้นอยู่กับระดับความชำนาญหรือเทคนิคการเจริญสติ

มีหลักฐานที่แสดงว่า การทำงานในระดับที่สูงกว่าของสมองส่วนหน้า (anterior) ซีกซ้าย อาจมีสหสัมพันธ์กับภูมิคุ้มกันที่ดีกว่า วัดโดยทำงานของเซลล์ NK (Natural killer cell) และก็มีหลักฐานด้วยที่แสดงว่า ชีวิตที่เคร่งเครียดจะมีผลลบต่อระดับ Antibody titer ซึ่งเป็นระดับสารภูมิต้านทาน (antibody) ในร่างกายตอบสนองต่อสารแปลกปลอม และเนื่องจากว่า โปรแกรมการเจริญสติหลายโปรแกรม มีจุดหมายเพื่อลดความเครียด จึงมีการศึกษาผลของสติตอบสนองของภูมิคุ้มกันด้วย


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301