มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระองค์
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือน 12 แรม 7 ค่ำ ปีมะเมียสัมฤทธิศก จ.ศ. 1220 ตรงกับวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 ในพระบรมมหาราชวัง มีพระเชษฐา พระอนุชาและพระขนิษฐารวมกัน 6 พระองค์ ได้แก่
เมื่อทรงพระเยาว์ ทรงได้รับการศึกษาขั้นต้นเขียนอ่านภาษาไทยในสำนักพระองค์เจ้าหญิงมณี และพระองค์เจ้าหญิงกฤษณา ซึ่งเป็นพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 3 ทรงศึกษาภาษามคธ แล้วเข้าชั้นมัธยมศึกษาในสำนักพระยาปริยัติธรรมธาดา (เปี่ยม) ผนวชเป็นสามเณร ไปประทับอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร ทรงศึกษาพระธรรมวินัยในสำนักสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเล่าเรียนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนหลวง ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งขึ้นภายในกรมทหารมหาดเล็ก ในพระบรมมหาราชวัง กระทั่งลาผนวช และเข้ารับราชการ
สมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ทรงบริหารราชการแผ่นดินตลอดพระชนม์ชีพ จากรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงดำรงตำแหน่งไปรเวตสิเกรตารีฝรั่ง (ราชเลขานุการฝ่ายต่างประเทศ) ทำหน้าที่ดูแลงานต่างประเทศ ทรงมีบทบาทสำคัญด้านการทูต เป็นผู้เจรจาข้อพิพาทกับฝรั่งเศส ครั้งวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ทรงเสนอให้มีการตั้งสถานทูตในต่างประเทศ ที่ยุโรปและสหรัฐอเมริกา ทรงว่าราชการเป็นเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศทั้งในรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 เป็นเวลา 37 ปี จนได้ชื่อว่าเป็น องค์บิดาแห่งการต่างประเทศของไทย
นอกเหนือจากการงานด้านการต่างประเทศ ได้ทรงงานที่สำคัญตลอดพระชนม์ชีพอีกหลายด้านเช่น ได้ทรงดำรงตำแหน่งนายกสภาการคลังในปี พ.ศ. 2465 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริให้เป็นอัครมหาเสนาบดี ทรงมีผลงานพระนิพนธ์หนังสือหลายเล่ม นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ทรงสถาปนาเป็นสมเด็จฯ กรมพระยา ซึ่งเป็นชั้นที่สูงสุด นับว่าทรงเป็นเจ้านายชั้นพระองค์เจ้าองค์แรกที่ได้รับพระราชทานให้ทรงสถาปนาเป็นสมเด็จฯ กรมพระยา เพราะในอดีตมีเพียงแต่เจ้านายชั้นเจ้าฟ้า และสมเด็จพระสังฆราชเจ้าหรือสมเด็จพระมหาสมณเจ้าเท่านั้นที่ทรงได้รับพระราชทาน
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ทรงสนพระทัยในวิชาโหราศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2432 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศใช้ปฏิทินแบบใหม่ตามสุริยคติตามแบบสากล จากเดิมที่ประเทศไทยใช้แบบจันทรคติ สมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ทรงเป็นผู้คิดปฏิทินไทยใช้ตามสุริยคติ เรียกว่า เทวะประติทิน มีการกำหนดชื่อเดือนขึ้นมาใหม่ จากเดิมที่ใช้ เดือนอ้าย เดือนยี่ ถึงเดือนสิบสอง เป็นชื่อเดือนแบบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานสร้างวังให้สมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ บนที่ดินพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ชื่อว่า วังเทวะเวสม์ ทรงเป็นต้น
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6 เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 8 แรม 1 ค่ำ ปีกุนเบญจศก จ.ศ. 1285 ตรงกับวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2466 พระชันษา 66 ปี
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ทรงเป็นต้นราชสกุลเทวกุล มีหม่อม 7 ท่าน ได้แก่
จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส • กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร • กรมขุนพินิตประชานาถ • กรมพระจักรพรรดิพงษ์ • กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช • กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ • กรมหลวงพิชิตปรีชากร • กรมหลวงอดิศรอุดมเดช • กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ • กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม • กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ • กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร • กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ • กรมขุนสิริธัชสังกาศ • กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ • กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ • กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ • กรมพระยาวชิรญาณวโรรส • กรมพระสมมตอมรพันธ์ • กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา • กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป • กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ • กรมพระยาดำรงราชานุภาพ • กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา • กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ • กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ • กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ • กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย
กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ • กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ • กรมขุนขัตติยกัลยา • กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี
กรมพระยาเทพสุดาวดี • กรมพระยาเดชาดิศร • กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร • กรมพระยาบำราบปรปักษ์ • กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ • กรมพระยาวชิรญาณวโรรส • กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช • กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ • กรมพระยาดำรงราชานุภาพ • กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ • กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
กรมพระศรีสุดารักษ์ • กรมพระปรมานุชิตชิโนรส • กรมพระรามอิศเรศ • กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ • กรมพระพิทักษ์เทเวศร์ • กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ • กรมพระจักรพรรดิพงษ์ • กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ • กรมพระสมมตอมรพันธ์ • กรมพระเทพนารีรัตน์ • กรมพระจันทบุรีนฤนาถ • กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ • กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ • กรมพระนครสวรรค์วรพินิต • กรมพระสุทธาสินีนาฏ • กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน
กรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ • กรมหลวงธิเบศรบดินทร์ • กรมหลวงนรินทรรณเรศร์ • กรมหลวงจักรเจษฎา • กรมหลวงอิศรสุนทร () • กรมหลวงเทพหริรักษ์ • กรมหลวงศรีสุนทรเทพ • กรมหลวงเสนานุรักษ์ • กรมหลวงพิทักษ์มนตรี • กรมหลวงเทพยวดี • กรมหลวงเทพพลภักดิ์ • กรมหลวงรักษ์รณเรศ • กรมหลวงเสนีบริรักษ์ • กรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิสุขวัฒนวิไชย • กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ • กรมหลวงมหิศวรินทรามเรศร์ • กรมหลวงสรรพศิลป์ปรีชา • กรมหลวงวงศาธิราชสนิท • กรมหลวงนรินทรเทวี • กรมหลวงวรศักดาพิศาล • กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ • กรมหลวงพิชิตปรีชากร • กรมหลวงวรเสรฐสุดา • กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ • กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม • กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร • กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ • กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ • กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร • กรมหลวงปราจิณกิติบดี • กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช • กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ • กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ • กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ • กรมหลวงอดิศรอุดมเดช • กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ • กรมหลวงนครราชสีมา • กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ • กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา () • กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ • กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ • กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี • กรมหลวงสงขลานครินทร์ • กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร • กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ • กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
กรมขุนสุนทรภูเบศร์ • กรมขุนกษัตรานุชิต • กรมขุนอิศรานุรักษ์ • กรมขุนศรีสุนทร • กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ • กรมขุนกัลยาสุนทร • กรมขุนสถิตย์สถาพร • กรมขุนนรานุชิต • กรมขุนธิเบศวร์บวร • กรมขุนพินิตประชานาถ () • กรมขุนวรจักรธรานุภาพ • กรมขุนราชสีหวิกรม • กรมขุนรามินทรสุดา • กรมขุนอนัคฆนารี • กรมขุนเทพนารี • กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล • กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์ • กรมขุนขัตติยกัลยา • กรมขุนเทพทวาราวดี () • กรมขุนอรรควรราชกัลยา • กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ • กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา • กรมขุนสุพรรณภาควดี • กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย • กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ • กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี • กรมขุนสิริธัชสังกาศ • กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ • กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา • กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี
กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์ • กรมหมื่นพิทักษ์เทวา • กรมหมื่นศักดิพลเสพ • กรมหมื่นนราเทเวศร์ • กรมหมื่นนเรศร์โยธี • กรมหมื่นเสนีเทพ • กรมหมื่นเจษฏาบดินทร์ () • กรมหมื่นอินทรพิพิธ • กรมหมื่นจิตรภักดี • กรมหมื่นศรีสุเรนทร์ • กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ • กรมหมื่นสุนทรธิบดี • กรมหมื่นนรินทรเทพ • กรมหมื่นศรีสุเทพ • กรมหมื่นณรงค์หริรักษ์ • กรมหมื่นเสพสุนทร • กรมหมื่นอมรมนตรี • กรมหมื่นนเรนทร์บริรักษ์ • กรมหมื่นไกรสรวิชิต • กรมหมื่นสนิทนเรนทร์ • กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ • กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ • กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร์ • กรมหมื่นถาวรวรยศ • กรมหมื่นอลงกฎกิจปรีชา • กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ • กรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร์ • กรมหมื่นภูมินทรภักดี • กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส • กรมหมื่นมนตรีรักษา • กรมหมื่นเทวานุรักษ์ • กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร • กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ • กรมหมื่นอุดมรัตนราษี กรมหมื่นภูบดีราชหฤทัย • กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ • กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช • กรมหมื่นอมเรศรัศมี • กรมหมื่นอานุภาพพิศาลศักดิ • กรมหมื่นอนันตการฤทธิ์ • กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ • กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ • กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ • กรมหมื่นบริรักษ์นรินทรฤทธิ์ • กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ • กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์ • กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร • กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย • กรมหมื่นปราบปรปักษ์ • กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ • กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา • กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ • กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป • กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร • กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม • กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ • กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ • กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี • กรมหมื่นกวีสุพจน์ปรีชา • กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ • กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส • กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ • กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช • กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย • กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร • กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต • กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ • กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ • กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ