ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

กฎของเมอร์ฟี

กฎของเมอร์ฟี (อังกฤษ: Murphy's Law) เป็นภาษิตที่มีการกล่าวถึงการอย่างกว้างขวางว่า "ทุกสิ่งที่สามารถผิดพลาด จะผิดพลาด" (Anything that can go wrong, will go wrong)

ภาษิตดังกล่าวยังใช้ในความหมายประชดประชันว่า เหตุการณ์ทั้งหลายมักไม่เป็นไปดังหวังหรือเกิดผิดพลาด หรือหากเจาะจงกว่านั้น อาจเป็นการสะท้อนแนวคิดคณิตศาสตร์ที่ว่า ภายใต้เวลานานระดับหนึ่ง เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้ยากยิ่งจะมีโอกาสเกิดขึ้นอย่างแน่นอน (เนื่องจากความน่าจะเป็นมีค่ามากกว่า 0) แม้ว่า ส่วนใหญ่มักใช้กับเหตุการณ์แง่ร้ายมากกว่าแง่ดี

มีเหตุการณ์มากมายในจักรวาลที่มนุษย์เห็นว่าเป็นเหตุที่เกิดขึ้นโดยปราศจากเหตุผล อันเป็นสิ่งที่มนุษย์สนใจมายาวนานแล้ว พบเครื่องแสดงแนวคิดดังกล่าวก่อนหน้ากฎของเมอร์ฟี่ได้ไม่ยาก เช่น หนังสือพิมพ์แห่งหนึ่งในนอร์วอล์ก รัฐโอไฮโอ ใน ค.ศ. 1841 ตีพิมพ์กลอนบทหนึ่ง ซึ่งเป็นการล้อเลียนกลอนในหนังสือ Lalla-Rookh ของทอมัส มัวร์):

ฉันไม่เคยกินขนมปังแผ่นโดยเฉพาะที่ใหญ่และกว้างซึ่งไม่ได้ตกลงบนพื้นและหันเอาด้านทาเนยลงเสมอ

จากการศึกษาใหม่ในของเขตดังกล่าว มักได้มาจากสมาชิกสมาคมภาษาถิ่นอเมริกัน (American Dialect Society) สมาชิกสมาคมคนหนึ่งชื่อ สตีเฟน โกเรนสัน พบอีกรูปแบบหนึ่งของกฎดังกล่าว แต่ขณะนั้นยังไม่พบใช้กันหรือชื่อเรียกทั่วไป ดังที่ปรากฏในการประชุมสมาคมวิศวกรรม ค.ศ. 1877 ซึ่งรายงานโดยอัลเฟรด ฮอลต์:

ค้นพบแล้วว่าเหตุผิดพลาดทุกอย่างซึ่งเกิดขึ้นได้ในทะเลมักเกิดขึ้นไม่ช้าก็เร็ว ฉะนั้นนั้นจึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าเจ้าของมักมองความปลอดภัยไปในทางวิทยาศาสตร์มากกว่า... ความฉุกเฉินอันเกินขึ้นนั้นมักเด่นขึ้นจากความเรียบง่ายของมัน ไม่อาจละเลยปัจจัยของมนุษย์ได้ในการวางแผนเครื่องกลไก หากการพิจารณาถือเป็นการบรรลุได้ เครื่องจักรนั้นก็จำเป็นต้องมีวิศวกรเอาใจใส่มันอย่างดี

สมาชิกสมาคมอีกคนหนึ่ง บิล มัลลินส์ (Bill Mullins) พบอีกรูปแบบหนึ่งของกฎที่มีชื่อเสียงกว่าแบบแรกอยู่เล็กน้อย ซึ่งเป็นพังเพยที่พาดพิงการแสดงมายากล โดยนักมายากลชาวอังกฤษ เนวิลล์ มัสคีลีน (Nevil Maskelyne) ซึ่งเขียนไว้ใน ค.ศ. 1908 ว่า:

มันเป็นประสบการณ์สำหรับมนุษย์ทั่วไปที่จะพบว่า ในทุกโอกาส อย่างเช่น การแสดงปรากฏการณ์มายากลครั้งแรกในที่สาธารณะ หากสิ่งใดมีโอกาสผิดพลาด มันจะผิดพลาด เราต้องพยายามหาเหตุผลต่อความร้ายกาจจากสถานการณ์นี้ หรือความเลวทรามของสิ่งไม่มีชีวิตนี้ และแม้ว่าเหตุจากความตื่นเต้นนั้นจะมาจากความหิว ความวิตกกังวล หรืออาจมิใช่ก็ตาม ความจริงก็ยังไม่เปลี่ยนแปลงอยู่เช่นเดิม

กฎของเมอร์ฟีสมัยใหม่เกิดขึ้นก่อน ค.ศ. 1952 ในหนังสือปีนเขา ซึ่งเขียนขึ้นโดย แจ็ค แซ็ค ผู้ซึ่งอธิบายว่ากฎดังกล่าวเป็น "กฎการปีนเขานับตั้งแต่สมัยโบราณ" ว่า:

เฟรด อาร์. ชาพีโร บรรณาธิการของ The Yale Book of Quotations ยังได้ปรากฏภาษิตนี้ในปี ค.ศ. 1952 ซึ่งได้ถูกเรียกว่า "กฎของเมอร์ฟี" ในหนังสือของแอน โรล์ (Anne Roe) ซึ่งอ้างคำพูดจากนักฟิสิกส์คนหนึ่งว่า:

รอบตัวเรามีเหตุการณ์อันน่ายินดีอย่างไม่ปกติอยู่เสมอ อย่างเช่น มีนักฟิสิกส์ผู้หนึ่งได้มาแนะนำให้รู้จักกับ "กฎ" ที่ผมชื่นชอบมาก ซึ่งเขาอธิบายว่ามันเป็น "กฎของเมอร์ฟี หรือกฎข้อที่สี่ของเทอร์โมไดนามิกส์ (ซึ่งอันที่จริงแล้ว ก่อนหน้านั้นผมเคยได้ยินมาแค่สาม) และมีใจความว่า "ถ้าทุกสิ่งผิดได้ จะเกิดขึ้น" (If anything can go wrong, it will.)

ทว่าชื่อ กฎของเมอร์ฟี นั้นมิได้เป็นชื่อเดียวที่ใช้กัน พบว่าจาก Astounding Science Fiction ของจอร์จ สไตน์ (George Harry Stine) ได้ให้ชื่อว่า "กฎของรีลลี" (Reilly's Law) ซึ่งกล่าวถึงความพยายามทางวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรมใด ๆ หากสิ่งใดมีโอกาสผิด มันจะผิด" หรือประธานคณะกรรมการพลังงานปรมาณู ลูอิส สแตรส (Lewis Strauss) ได้ยกคำพูดลงใน Chicago Daily Tribune เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955 โดยระบุว่า "ผมหวังว่ากฎนี้จะชื่อว่ากฎของสแตรส ซึ่งมีใจความว่า: หากอะไรแย่ ๆ มีโอกาสเกิดขึ้น มันจะเกิดขึ้น"

จากหนังสือ A History of Murphy's Law โดยผู้ประพันธ์ นิค ที. สปาร์ค ซึ่งกล่าวว่าเนื่องมีส่วนร่วมจำนวนมาก ทำให้การสืบหาตัวผู้เริ่มใช้คำว่า "กฎของเมอร์ฟี" จึงแทบเป็นไปไม่ได้ โดยชื่อดังกล่าวสันนิษฐานว่ามาจากความพยายามในการใช้อุปกรณ์ใหม่โดยเอ็ดเวิร์ด เมอร์ฟี ซึ่งเป็นคำที่เมอร์ฟีแต่งขึ้นจากปฏิกิริยาที่เมอร์ฟีแสดงออกมาเมื่อสิ่งประดิษฐ์ของเขาผิด และสื่อเปลี่ยนมาสู่รูปแบบปัจจุบันในอีกหลายเดือนต่อมา


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944