ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

BD

จานบลูเรย์ (อังกฤษ: Blu-ray Disc) หรือ บีดี (BD) คือรูปแบบของจานแสงสำหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง ชื่อของจานบลูเรย์มาจากช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ในระบบบลูเรย์ ที่ 405 nm ของเลเซอร์สี "ฟ้า" ซึ่งทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวีดีที่มีขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวีดีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650 nm โดยในอดีตมีคู่แข่งอย่าง HD DVD หรือ high definition optical disc format war ผลิตโดย Toshiba และเลิกผลิตเครื่องเล่น HD DVD ไปในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เนื่องจาก HD DVD ได้รับความนิยมน้อยกว่า และหันมาผลิตเครื่องเล่นจานบลูเรย์แทนตั้งแต่ พ.ศ. 2552

มาตรฐานของจานบลูเรย์พัฒนาโดยกลุ่มของบริษัทที่เรียกว่า Blu-ray Disc Association ซึ่งนำโดยฟิลิปส์และโซนี เปรียบเทียบกับเอชดีดีวีดี (HD-DVD) ที่มีลักษณะและการพัฒนาใกล้เคียงกัน จานบลูเรย์มีความจุ 25 GB ในแบบชั้นเดียว (Single-Layer) และ 50 GB ในแบบสองชั้น (Double-Layer) ขณะที่เอชดีดีวีดีแบบชั้นเดียว มี 15 GB และสองชั้นมี 30 GB โดยสามารถเพิ่มการหักเหแสงได้ทั้งหมด 4 ชั้นเพิ่มความจุในการอ่านเขียนไปที่ 128 GB เลยทีเดียว

ระบบภาพความชัดสูงหรือ High-definition video (HD) โดยใช้ระบบพิกเซลระดับ 1080p (1920?1080 pixels) ใช้ความเร็วในการฉาย 60 (59.94) ภาพต่อวินาที fields โดยมากกว่า DVD รุ่นเก่าที่สามารถทำความละเอียดภาพได้แค่ SD หรือ 480p (NTSC, 720?480 pixels) โดยอย่างมากไม่เกิน 576p (PAL, 720?576 pixels)

ซึ่งปกติจานบลูเรย์นั้นจะมีลักษณะคล้ายกับแผ่นซีดีหรือดีวีดี โดยจานบลูเรย์จะมีลักษณะแบบหน้าเดียวและสองหน้า โดยแต่ละหน้าสามารถรองรับได้มากถึง 2 ชั้น อาทิ จาน BD-R (SL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Single Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 25 GB จาน BD-R (DL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบหน้าเดียว มีความจุ 50 GB จาน BD-R (2DL) หมายถึง Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบสองหน้า มีความจุ 100 GB โดยปี 2013 สามารถผลิต BD-XL ซึ่งมีขนาดมากกว่า 100 GB ไปที่ 128 GB ได้แล้ว

ส่วนความเร็วในการอ่านหรือบันทึกจานบลูเรย์ที่มีค่า 1x, 2x, 4x ในแต่ละ 1x จะมีความเร็ว 36 เมกะบิตต่อวินาที นั่นหมายความว่า 4x นั่นจะสามารถบันทึกได้เร็วถึง 144 เมกะบิตต่อวินาที โดยมีนักวิทยาศาสตร์จาก NASA[ต้องการอ้างอิง] เป็น ผู้พัฒนาต่อจากระบบบันทึกข้อมูลที่ใช้ในโครงการอวกาศ

The BDXL รองรับขนาด 100 GB และ 128 GB โดยใช้จานเดียว และ 100 GB ในการเขียนอ่านซ้ำโดยเปิดตัวใน เดือน มิถุนายน 2553

BD-R 3.0 Format Specification (BDXL) เพิ่มคุณภาพชั้น ในการพัฒนา BDAV format ด้วยการอ่านจานความเร็ว 2? และ 4? โดยส่งผ่านข้อมูล 100/128 GB และ ใช้พื้นที่เพียง UDF2.5/2.6.

BD-RE 4.0 Format Specification (BDXL) เพิ่มคุณภาพชั้น ในการพัฒนาระบบอ่านเขียนซ้ำ BDAV พร้อมความเร็ว 2? และ 4? โดยส่งผ่านข้อมูล 100 GB พร้อมการใช้พื้นที่เพียง UDF2.5 ในระบบ

AVCHD เป็นการพัฒนาจากระบบ ภาพความละเอียดสูง high definition tapeless camcorder โดยความเข้ากันได้จากระบบเดิม random access ที่ความคมชัดต่ำ และการบันทึกเสียงที่ต่ำไม่ได้คุณภาพ จึงจำเป็นต้องสร้างระบบ AVC-video และ ระบบเสียง Dolby AC-3 (or linear PCM) มาใช้ในแบบ ดิจิตอล

โดยระบบการเล่น AVCHD playback แต่เดิมยังไม่รองรับในจานบลูเรย์ playback จนมีการยกระดับความเข้ารหัสคุณภาพของภาพและเสียงให้มากกว่าระบบเดิม โดยสามารถใช้ควบคุ่กับ ระบบ DVD เดิม ทั้งสื่อบันทึกแบบเก่า SD/SDHC memory cards, "Memory Stick" cards และฮาร์ดดิสก์

AVCREC สามารถใช้ใน BDAV เพื่อการบันทึกไฟล์วิดีโอ คุณภาพสูงมากกว่า DVD สามารถนำเสนอ AVCREC ในการยกระดับคุณภาพของภาพยนตร์จาก DVD ขึ้นมาเป็นระบบคุณภาพความละเอียดสูง โดยประเทศญี่ปุ่น ISDB โดยเปลี่ยจากการบันทึกแบบความคมชัดปกติไปเป็นแบบดิจิตอลทีวี digital video recorder จำเป็นต้องบันทึกในพื้นที่ขนาดใหญ่ขึ้น โดย BLU RAY ให้พื้นที่มากกว่า HD REC

Blu-ray Disc Association (BDA) กำหนดมาตรฐานสำหรับการบันทึกข้อมูลภาพพิเศษทางลักษณะการเรียงตัวของชั้นภาพ ซึ่งเรียกว่าภาพยนตร์สามมิติ (3D film) และทีวีสามมิติ (3D television) ลงบนจานบลูเรย์ ในวันที่ 17 ธันวาคม 2552 BDA ประกาศมาตรฐานและคุณสมบัติของไฟล์ข้อมูลวิดีโอสามมิติ เพื่อให้สามารถบันทึกข้อมูลภาพยนตร์สามมิติลงแผ่น Blu-ray Disc และเปิดรับชมเป็นแบบภาพสามมิติได้อย่างถูกต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน อีกทั้งยังจะต้องสามารถเปิดชมจานบลูเรย์สามมิติโดยเลือกเป็นแบบภาพธรรมดาหรือสองมิติได้ตามปกติของเครื่องเล่น Blu-ray

โดยบริษัท Sony ได้นำเอาความสามารถทางสามมิติและระบบเล่นจานบลูเรย์สามมิติใส่ลงใน firmware upgrade ของเครื่องเล่นเกม PlayStation 3 ในวันที่ 21 เมษายน 2553 ให้สามารถเล่นภาพยนตร์สามมิติได้ โดยในการพัฒนา version 3.70 การอัปเดต วันที่ 9 สิงหาคม 2554 PlayStation 3 รองรับระบบ เสียง DTS-HD Master Audio และ DTS-HD High Resolution Audio ในระบบการเล่นภาพยนตร์จากจานบลูเรย์สามมิติ รวมทั้ง Dolby TrueHD

ความละเอียดระดับสูง High-definition video โดย BD-ROMs สามารถฉายภาพขนาด 1920?1080 pixel ด้วยความเร็ว 60 (59.94) fields ต่อวินาที โดยสามารถลดความเร็วภาพเป็น 1920?1080 pixel ความเร็วในการฉาย 24 ภาพต่อวินาที สามารถเพิ่มระดับเป็น 59.94 ภาพต่อวินาที จากความละเอียดเดิม 1280?720 พิกเซล โดยปัจจุบันรองรับความกว้างของภาพที่ 1920?1080 โดยความเร็วในการฉาย 60p และ 50p

^ a This is used for storing audio/video and title updates. It can either be built-in memory or removable media, such as a memory card or USB flash memory.^ b A secondary audio decoder is typically used for interactive audio and commentary.^ c Profile 3.0 is a separate audio-only player profile. The first Blu-ray Disc album to be released was Divertimenti, by record label Lindberg Lyd, and it has been confirmed to work on the PS3.^ d Also known as Initial Standard profile.^ e Also known as Final Standard profile.

Quadruplex (1956) ? VERA (1958) ? Type A (1965) ? CV-2000 (1965) ? Akai (1967) ? U-matic (1969) ? EIAJ-1 (1969) ? Cartrivision (1972) ? Philips VCR (1972) ? V-Cord (1974) ? VX (1974) ? Betamax (1975) ? IVC (1975) ? Type B (1976) ? Type C (1976) ? VHS (1976) ? VK (1977) ? SVR (1979) ? Video 2000 (1980) ? CVC (1980) ? VHS-C (1982) ? M (1982) ? Betacam (1982) ? Video8 (1985) ? MII (1986) ? S-VHS (1987) ? Hi8 (1989) ? S-VHS-C (1987) ? W-VHS (1994)

D1 (1986) ? D2 (1988) ? D3 (1991) ? DCT (1992) ? D5 (1994) ? Digital Betacam (1993) ? DV (1995) ? Digital-S (D9) (1995) ? DVCPRO (1995) ? Betacam SX (1996) ? DVCAM (1996) ? HDCAM (1997) ? DVCPRO50 (1997) ? D-VHS (1998) ? Digital8 (1999) ? DVCPRO HD (2000) ? D6 HDTV VTR (2000) ? MicroMV (2001) ? HDV (2003) ? HDCAM SR (2003)

Laserdisc (1978) - Laserfilm (1984) - CD - VCD (1993) - DVD (1996) - DVD-Video (1996) - MiniDVD - CVD (1998) - SVCD (1998) - FMD (2000) - EVD (2003) - FVD (2005) - UMD (2005) - VMD (2006) - HD DVD (2006) - Blu-ray Disc (BD) (2006) - AVCHD (2006) - Tapestry Media (2007) - HVD (TBA) - PH-DVD (TBA) - Protein-coated disc (TBA) - Two-Photon 3-D (TBA)


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944