กิลเลอเมต ( ? ? )จุดไข่ปลา ( …, ... )จุลภาค ( , )ซอลิดัส ( ? )ทวิภาค ( : )ทับ ( / )นขลิขิต ( ), [ ], { }, < >บุพสัญญา ( " )ปรัศนี ( ? )มหัพภาค ( . )ยัติภังค์ ( -, ? )ยัติภาค ( ?, –, —, ? )สัญประกาศ ( _ )เสมอภาค ( = )อะพอสทรอฟี ( ', ?, ’ )อัญประกาศ ( “ ”, ‘ ’, " " )อัฒภาค ( ; )อัศเจรีย์ ( ! )
แคเรต ( ^ )เซกชัน ( )ดอกจัน ( * )แด็กเกอร์ ( ? ) ( ? )ทิลเดอ ( ~ )นัมเบอร์ ( # )นูเมอโร ( ? )บวกและลบ (+ ?)บวกหรือลบ (?)บุลเลต ( • )แบ็กสแลช ( \ )ปรัศนีกลับหัว ( ? )เปอร์เซ็นต์ ( %, ?, ? )พิลโครว์ ( )ไพป์ ( |, ? )ไพรม์ ( ? )สกุลเงิน ( ? ) ?, $, €, ?, ?, ?, ?องศา ( ? )ออเบอลุส (?)อันเดอร์สกอร์ ( _ )อัศเจรีย์กลับหัว ( ? )แอมเพอร์แซนด์ ( & )แอต ( @ )
กรณฑ์ ( ? )ซาร์แคซึมมาร์กดัชนี ( ? )เพราะฉะนั้น ( ? )ลอซินจ์ ( ? )อ้างอิง ( ? )อินเทอร์รอแบง ( ? )แอสเทอริซึม ( ? )ไอรอนนีมาร์ก ( ? )
ยัติภังค์ หรือ เครื่องหมายขีด (hyphen) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นขีดแนวนอนสั้นๆ กลางบรรทัด ยาวไม่เกิน 2 ตัวอักษร หากยาวกว่านั้นจะเรียกว่ายัติภาค
ศาลภาษีอากรกลางตัดสินคดีนายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะฟ้องเจ้า-
พนักงานประเมินภาษีส่งเงินภาษีรับโอนหุ้นคืนโดยไม่ชอบ โดยศาลวินิจ-
ฉัยว่าการขายหุ้นที่ได้มาจากการซื้อนอกตลาดหลักทรัพย์ ในตลาด-
หลักทรัพย์ ...
จากเดิมในรหัสแอสกี ยัติภังค์และเครื่องหมายลบใช้สัญลักษณ์ตัวเดียวกันคือ (-) ที่ตำแหน่ง 0x2D แต่สำหรับรหัสยูนิโคด ได้แยกสองเครื่องหมายนี้ออกจากกัน โดยยัติภังค์อยู่ที่ U+2010 (?) และเครื่องหมายลบอยู่ที่ U+2212 (?) แต่ก็ยังคงอักขระตัวเดิมไว้ที่ U+002D เพื่อให้ยังสามารถรองรับและเข้ากันได้กับรหัสแอสกี
นอกจากนี้ยังมีสัญลักษณ์ ยัติภังค์เผื่อเลือก (soft hyphen) ที่ตำแหน่ง U+00AD ซึ่งจะปรากฏเป็นเครื่องหมายขีดเมื่อมีการตัดคำที่ตำแหน่งที่ใส่ไว้ หากไม่มีการตัดคำจะไม่ปรากฏ และมีสัญลักษณ์ ยัติภังค์แบบไม่ตัดคำ (non-breaking hyphen) ที่ U+2011 (?) เพื่อบังคับระบบคอมพิวเตอร์ว่าไม่ให้ตัดคำที่เครื่องหมายขีด ซึ่งทำงานคล้ายกับ เว้นวรรคแบบไม่ตัดคำ (non-breaking space)